กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ วัคซีนดีที่ทุ่งพอ ประจำปี 2564
รหัสโครงการ 64-l5256-02-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัคร รพ.สต.โคกตก
วันที่อนุมัติ 9 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 24,547.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนูไอนี สมาน นายสุริยา หลงนิเด๊าะ น.ส.ยูเด๊าะ กายียุ
พี่เลี้ยงโครงการ น.ส.สุกัญญา เพรชประกอบ ผอ.รพ.สต.โคกตก
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 9 ก.พ. 2564 30 ก.ย. 2564 24,547.00
รวมงบประมาณ 24,547.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้เด็กที่มีอายุ 0-5 ปี ต้องได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ เพื่อป้องกันโรคไข้เจ็บที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนอยู่ในระดับตำเมือเทียบกับเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดไว้ให้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ดั้งนั้น ชมรม รพ.สต.โคกตก จึงได้จัดทำโครงการ วัคซีนที่ทุ่งพอ 2564 ขึ้นโดยใช่หลักการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน เพื่อกระบวนการในการแก้ไข้ปัญหาอัตราควบคุมวัคซีนต่ำ และเพื่อให้สอดคลองกันนโยบายของจังหวัดสงขลาในการพัฒนา ตามประเด้นจุดเน้นของ จังหวัดสงขลา ที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนากหารเฝ้าระวังกับการควบคุมโรคที่สามารถควบคุมได้ด้วยวัคซีน โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่และภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนเป็นกลไกลสำคัญในการดำเนินงาน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้อัตราการควบคุมของการรับวัคซีนในเด็กอายุครบ0-5 ปีเพิ่มขึ้น

ครอบคลุมเด็กอายุ 0-5 ปีได้รับวัคซีนเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 10

70.00
2 2.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสร้างเจตคติที่ดีแก่ผู้ปกครองต่อการรับวัคซีน

ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและมีเจตคติที่ดีต่อการรับวัคซีน ร้อยละ 20

10.00
3 3.เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ ด้วยวัคซีนขึ้นในพื้นที่

ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ร้อยละ 80

60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 100 24,547.00 0 0.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 1.วางแผนแนวทางการปฏิบัติงาน ให้ จนท.สาธารณสุข รพ.สต.โคกตก 2.สร้างกระบวนการติดตามเด็กมาฉีดวัคซีนเชิงรุก 3.จัดกิจกรรมเดินรณรงค์ ลูกน้อยสุขภาพดีฉีดวัคซีนครบตามเกณท์ 4.จัดให้บริการคลีนิควัคซีนในวันพุธที่ 2 ของเดือน 5.จัดกิจกรรม ลูกน้อยสุขภาพดี ฉีดวัคซีนครบ 100 24,547.00 -

1.ประชุมแกนนำ เจ้าหน้าที่ อสม.ผู้นำชุมชน เพื่อวางแผนการดำเนินงาน 2.เขียนโครงการเพื่ออนุมัติ 3.ติดตามเด็กมาฉีดวัคซีนเชิงรุก 4.จัดกิจกรรมเดินรณรงค์
5.จัดกิจกรรมลูกน้อยสุขภาพดี ฉีดวัคซีนครบ 6.ทำจดหมายติดตามเด็กขาดนัด 7.ประเมินโครงการ
8.สรุปผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ความครอบคุมของการรับวัคซีนในเด็กอายุครบ 0-5 ปี เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 10
2 ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และมีเจตคติที่ดี ต่อการรับวัคซีน 3 เกิดกระแสความตื่นดัวเรื่องวัคซีนในชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2564 00:00 น.