กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน


“ โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกาะสะท้อนปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีซัน มะเก

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกาะสะท้อนปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-l2481-4-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกาะสะท้อนปีงบประมาณ 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกาะสะท้อนปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกาะสะท้อนปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-l2481-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 115,841.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ้งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกลสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน
สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงการสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์การเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่
ดังนั้น การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบกองทุนสุขภาพท้องถิ่นโดยมีคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคประชาชนบุคคลากรทางสาธารณสุขและบุคคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่วนหนึ่งจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและท้องถิ่นสมทบอีกส่วนหนึ่ง จึงเป็นวิธีการอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้นำท้องถิ่นและประชาชนได้ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมที่จะสร้างเสริมสุขภาพให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงในด้านกายใจ สังคม และปัญญา
เพราะฉะนั้น เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯ มีประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะสะท้อน จึงได้จัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดซื้อจัดจ้างวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ
  2. เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายและจ่ายค่าตอบแทนการประชุมของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ
  3. เพื่อจ่ายเป็นค่าอาหารและอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2564
  2. ค่าตอบแทนการประชุมคณะอนุกรรมการ 1/2564
  3. ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2564
  4. ค่าตอบแทนการประชุมคณะอนุกรรมการ 2/2564
  5. ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3/2564
  6. ค่าตอบแทนการประชุมคณะอนุกรรมการ 3/2564
  7. ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4/2564
  8. ค่าตอบแทนการประชุมคณะอนุกรรมการ 4/2564
  9. ค่าจ้างเหมาบริการพนักงานกองทุน (ชั่วคราว)
  10. ค่าวัสดุสำนักงาน
  11. ค่าครุภัณฑ์สำนักงาน
  12. ค่าเดินทางราชการรวมถึงค่าลงทะเบียน
  13. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพกรรมการและอนุกรรการ ปี 2564
  14. ค่าจ้างเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน มีนาคม 2564
  15. ค่าพี่เลี้ยง
  16. ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน เมษายน 2564
  17. ค่าจ้างเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน พฤษภาคม 2564
  18. ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน มิถุนายน 2564
  19. ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน กรกฎาคม 2564
  20. ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน สิงหาคม 2564
  21. ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน กันยายน 2564

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 17

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถจ่ายค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการหรือที่ปรึกษากองทุนฯ และคณะอนุกรรมการ
  2. สามารถพัฒนาบริหารจัดการงานกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าจ้างเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน มีนาคม 2564

วันที่ 1 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน มีนาคม 2564 จำนวน 1 คนๆ ละ 6,000.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้งานในกองทุนดำเนินการและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

 

1 0

2. ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2564

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ได้จัดการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2564 ในวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2564

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในวาระการประชุมครั้งนี้ มีการแจ้ง สรุปโครงการในปีงบประมาณ 2563 ได้ดำเนินการตามแผนงานที่ได้เสนอ อีกทั้งสรุปงบประมาณยกมาของปี 2563 และงบประมาณในปี 2564

 

15 0

3. ค่าตอบแทนการประชุมคณะอนุกรรมการ 1/2564

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ได้จัดการประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2564 ในวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2564

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะอนุกรรมกรมีการตรวจสอบสรปผลการดำเนินงานโครงการในปีงบประมาณ2563

 

2 0

4. ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2564

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ได้จัดการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2564 ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในการประชุมครั้งนี้เป็นการพิจารณาโครงการที่จะดำเนินการในปีงบประมาณ 2564

 

15 0

5. ค่าตอบแทนการประชุมคณะอนุกรรมการ 2/2564

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ได้จัดการประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2564 ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในการประชุมครั้งนี้เป็นการคัดกรองโครงการทีจะนำเสนอเข้าสู้ที่ประชุมกรรมการพิจารณาต่อไป

 

2 0

6. ค่าจ้างเหมาบริการพนักงานกองทุน (ชั่วคราว)

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เบิกเงินเป็นค่าตอบแทนในการจ้างเหมาบริการพนักงานกองทุน (ชั่วคราว)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นค่าตอบแทน ประจำเดือนตุลาคม 2563 - เดือนกุมภาพันธ์ 2564

 

1 0

7. ค่าครุภัณฑ์สำนักงาน

วันที่ 16 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อครุภัณฑ์สำนักงาน จำนวน 2 รายการ เป็นเงิน 4,100.- บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ใช้เป็นโต๊ะทำงานของพนักงานจ้างเหมาบริการกองทุน ในการดำเนินงานกองทุน

 

0 0

8. ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน เมษายน 2564

วันที่ 30 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน มีนาคม 2564 จำนวน 1 คนๆ ละ 6,000.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้งานในกองทุนดำเนินการและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

 

1 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดซื้อจัดจ้างวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกาะสะท้อนมีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุนฯ ร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายและจ่ายค่าตอบแทนการประชุมของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกาะสะท้อนมีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุนฯ ร้อยละ 90
0.00

 

3 เพื่อจ่ายเป็นค่าอาหารและอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม
ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกาะสะท้อนมีการขับเคลื่อนและดำเนินการในงานต่างๆ ของกองทุนฯ ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 17
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 17

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดซื้อจัดจ้างวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯ (2) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายและจ่ายค่าตอบแทนการประชุมของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ (3) เพื่อจ่ายเป็นค่าอาหารและอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2564 (2) ค่าตอบแทนการประชุมคณะอนุกรรมการ 1/2564 (3) ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2564 (4) ค่าตอบแทนการประชุมคณะอนุกรรมการ 2/2564 (5) ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3/2564 (6) ค่าตอบแทนการประชุมคณะอนุกรรมการ 3/2564 (7) ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4/2564 (8) ค่าตอบแทนการประชุมคณะอนุกรรมการ 4/2564 (9) ค่าจ้างเหมาบริการพนักงานกองทุน (ชั่วคราว) (10) ค่าวัสดุสำนักงาน (11) ค่าครุภัณฑ์สำนักงาน (12) ค่าเดินทางราชการรวมถึงค่าลงทะเบียน (13) กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพกรรมการและอนุกรรการ ปี 2564 (14) ค่าจ้างเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน มีนาคม 2564 (15) ค่าพี่เลี้ยง (16) ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน เมษายน 2564 (17) ค่าจ้างเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน พฤษภาคม 2564 (18) ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน มิถุนายน 2564 (19) ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน กรกฎาคม 2564 (20) ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน สิงหาคม 2564 (21) ค่าเจ้าเหมาบริการ เจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ประจำเดือน กันยายน 2564

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกาะสะท้อนปีงบประมาณ 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-l2481-4-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรีซัน มะเก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด