กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก


“ ควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 ”

ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายเชาวลิต ภู่ทับทิม

ชื่อโครงการ ควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2475-1-02 เลขที่ข้อตกลง 04/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"ควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " ควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2475-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ในแต่ละปีมีผู้ป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นจำนวนมาก ก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม รัฐบาลจึงได้เล็งเห็นความสำคัญ และได้นำปัญหาโรคไข้เลือดออกมากำหนดออกมาเป็นนโยบายในการดำเนินงาน โดยที่สถานบริการสุขภาพทุกแห่งร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการรณรงค์ให้กำจัดยุงลายทุกๆ ๗ วัน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปีแต่อัตราป่วยก็ยังไม่ลดลงเท่าที่ควร โดยในปีพ.ศ.. ๒๕๖๓ อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกยังคงทวีความรุนแรงเหมือนเดิมสำหรับในตำบลช้างเผือก มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ข้อมูล จากงานระบาดของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ณ วันที่๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๓จำนวนผู้ป่วยมี …๔…ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ …๓๔๒.๔๗...ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานค่อนข้างมาก (เกณฑ์มาตรฐาน ๕๐ ต่อแสนประชากร)ก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคมของประชาชนในตำบลช้างเผือก และในสภาพปัจจุบัน ยังมีแนวโน้มการแพร่ระบาดของไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องจากหลักการและเหตุผลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกูมุง จึงมีแนวคิดที่จะแก้ไขปัญหาเพื่อควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ให้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือนและทุกหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกูมุง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์และพ่นหมอกควันเพื่อควบคุมป้องกันไข้เลือดออก ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง
  2. เพื่อประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
  2. พ่นหมอกควันทำลายยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 245
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 350
กลุ่มวัยทำงาน 1,115
กลุ่มผู้สูงอายุ 117
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนและองค์กรในหมู่บ้านให้ความร่วมมือกันในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ในบ้านและบริเวณบ้านของตนเอง 2.ประชาชนเกิดจิตสำนึกในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชน
3.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

วันที่ 1 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

-ชี้แจงอสม โตะอิหม่ำ ตัวแทนผู้ใหญ่บ้าน และสมาชิก อบต ชี้แจงการดำเนินงานรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
-ออกรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม โตะอิหม่ำ ตัวแทนผู้ใหญ่บ้าน และสมาชิก อบต สามารถดำเนินงานรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง

 

0 0

2. พ่นหมอกควันทำลายยุงลาย

วันที่ 15 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ
กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์ในชุมชน 1) ทำสื่อเรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก 2) ติดประกาศตามพื้นที่มัสยิดในชุมชน กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 1) ประชุม อสม โต๊ะอิหม่ำ ตัวแทนผู้ใหญ่บ้าน และสมาชิก อบต ชี้แจงการดำเนินงานรณรงค์ทำลายแหล่ง เพาะพันธุ์ยุง 2) กำหนดพื้นที่ สำหรับการรณรงค์ 3) ออกรณรงค์ทุกวันศุกร์ แยกตามหมู่บ้าน กิจกรรมที่ 3 พ่นหมอกควันทำลายยุงลาย 1) ประชุม อสม ชี้แจงวิธีการพ่นหมอกควัน 2) กำหนดพื้นที่พ่น คือพื้นที่ๆเคยมีผู้ป่วยทุกปี 3) ออกปฏิบัติงานพ่นหมอกควัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ       1.ประชาชนและองค์กรในหมู่บ้านให้ความร่วมมือกันในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ในบ้านและบริเวณบ้านของตนเอง             2.ประชาชนเกิดจิตสำนึกในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชน
            3. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
0.00

 

2 เพื่อประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละการประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออกครอบคลุมทุกหมู่บ้าน
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1827
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 245
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 350
กลุ่มวัยทำงาน 1,115
กลุ่มผู้สูงอายุ 117
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง (2) เพื่อประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย (2) พ่นหมอกควันทำลายยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ควบคุมและป้องกันไข้เลือดออก ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2475-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเชาวลิต ภู่ทับทิม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด