กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเปาะเส้ง
วันที่อนุมัติ 23 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 28,350.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอาฟีฟะห์ เจ๊ะมามะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่ หมู่ที่ 1-4 ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา โรงเรียนในเขตรับผิดชอบทั้งหมด จำนวน 4 แห่ง
ละติจูด-ลองจิจูด 6.511,101.201place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะของโรค นอกจากจะเป็นปัญหาด้านสาธารณสุข ของประเทศสร้างไทยแล้วยังเป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศไทยที่เป็นเขตร้อนซื้น เป็นโรคติดต่อ ที่เกิดจากยุงลาย หากยุงกัดคนในช่วงนี้ก็จะรับเชื้อไวรัสมาแพร่ให้กับคนอื่น ซึ่
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 2. เพื่อดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเวลา 3. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธ์ในชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มัสยิด 4. เพื่อสร้างทีมควบคุมโรค
  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักและให้ความร่วมมือในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในพื้นที่
  2. อัตราป่วยจากโรคไข้เลือดออกลดลงและไม่มีรายงานอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออก
  3. ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายได้อย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 140 28,350.00 0 0.00
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 อบรมให้ความรู้ทีม SRRT 40 5,800.00 -
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมรณรงค์ควบคุมโรคไข้เลือดออก 60 16,750.00 -
1 มี.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 อบรมแกนนำนักเรียน จำนวน 40 คน 40 5,800.00 -

1.อบรมทีม SRRT 2.อบรมแกนนำนักเรียน 3.พ่นหมอกควันครัวเรือนบริเวณพื้นที่เสี่ยงระบาดซ้ำซ้อนและครัวเรือนที่เกิดโรคระบาดรวมถึงหลังคาเรือน ระยะรัศมี 100 เมตร 4.รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 5.สรุปผลการดำเนินงาน/ถอดบทเรียน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักและให้ความร่วมมือในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในพื้นที่และสามารถเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่ได้
  2. อัตราป่วยจากโรคไข้เลือดออกลดลงและไม่มีรายงานอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออก
  3. ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายได้อย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2564 17:39 น.