กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก
รหัสโครงการ 64-l5256-01-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.โคกตก
วันที่อนุมัติ 9 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 39,865.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกัญญาภัทร เพชรประกอบ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 9 ก.พ. 2564 30 ก.ย. 2564 39,865.00
รวมงบประมาณ 39,865.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 300 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 88 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สุขภาพช่องปากเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพดี ช่่วยเสริมคุณภาพชีวิต เพราะปัญหาสุขภาพช่องปาก จะส่งผลต่อระบบอื่น ๆของร่างกาย ดังนั้นจำเป็นต้องดูแลสุขภาพในช่องปากของประชาชนให้ปราศจากโรคฟันผุ และเหงือกอักเสบ ซึ่งในปัจจุบันแนวคิดการดูแลช่องปาก ไม่ใช่การกำจัดโรคอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะต้องดูแลสุขภาพให้ดีตั้งแต่แรกเริ่ม และคงสภาพที่ดีไว้ ปัญหาทันตสาธารณสุขที่สำคัญของอำเภอสะบ้าย้อย คือ โรคฟันผุ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในทุกกลุ่มอายุของประชาชนชาวอำเภอสะบ้าย้อย โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กปฐมวัย จากผลการสำรวจสถานการณ์ทันตสุขภาพในเด็กกลุ่มอายุ 3 ปีและ 12 ปี ของอำเภอสะบ้าย้อย ปี 2563 พบว่าเด็กอายุ 3 ปีมีอัตราการเกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ 55.21 และในเด็กอายุ 12 ปี มีอัตราการเกิดโรคฟันผุในฟันแท้ ร้อยละ 44.21 สำหรับในกลุ่มผู้สูงอายุ มีฟันหลังฟันแท้หรือเทียม ใช้งานไม่น้อยกว่า 4 คู่ ร้อยละ 39.47 การแก้ไขปัญหาทันตสาธารณสุขจึงต้องกำหนดพัฒนางานทันตสาธารณสุขโดยให้กิจกรรมที่ดำเนินการสอดคล้องกับสาเหตุ ครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายด้วยการผสมผสานทั้งการสร้างเสริมป้องกันทันตสุขภาพและรักษาทางทันตกรรม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกและให้บริการทันตกรรม

ครอบคลุมหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 75

60.00
2 เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็ก 0-3 ปี

ครอบคลุมเด็กอายุ 0-3 ปี มีฟันผุลดลง ร้อยละ 2

40.00
3 เพื่อให้เด็กอายุ 3-5 ปี มีฟันกรามเคี้ยวอาหารได้

ครอบคลุมอายุ 3-5 ปี ได้รับการอุดฟันด้วยวิธี smart ร้อยละ 10

40.00
4 เพื่อให้เด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่ผุ

ครอบคลุมเด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่ผุ

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 39,865.00 0 0.00
19 มี.ค. 64 โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก 0 39,865.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ความครอบคลุมของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจช่องปาก ร้อยละ 75
2 ความครอบคลุมของเด็กอายุ 3 ปีมีฟันผุลดลง ร้อยละ 2 3 ความครอบคลุมของเด็กอายุ 3-5 ปี ได้รับการอุดฟันด้วยวีธี SMART ร้อยละ 10 4 ความครอบคลุมของเด็กอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มีผุ ร้อยละ 80
5 ความครอบคลุมสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุและผู้ป่วยเบาหวาน ร้อยละ 40

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2564 00:00 น.