กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคเท้าช้างในพื้นที่ประจำปี 2564
รหัสโครงการ 64-L2536-01-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะ
วันที่อนุมัติ 6 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 18,575.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนูรือมา มะแซ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3883 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดการแพร่ระบาดโรคเท้าช้างในพื้นที่

การพบแอนติเจน/ไมโครฟิลาเรีย ไม่เกินร้อยละ 1

0.17 0.00
2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย

ผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย

0.00
3 เพื่อลดพยาธิสภาพของผู้ป่วยที่ปรากฏอาการให้น้อยลง และได้รับการดูแลที่ถูกวิธี

ผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายระยะปรากฏอาการรับการดูแลรักษาและติดตามทุกราย

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 18,575.00 0 0.00
1 - 11 มิ.ย. 64 กิจกรรมประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่คณะทำงาน 0 2,000.00 -
12 มิ.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมเจาะเลือดตรวจเชื้อโรคเท้าช้างและจ่ายยาป้องกันโรคเท้าช้างเชิงรุก 0 16,575.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการป้องกันและควบคุมโรคเท้าช้าง และสามารถป้องกันตนเองจากสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
  2. อัตราการพบเชื้อในกระแสเลือดรายใหม่ลดลง
  3. ผู้ป่วยที่มีเชื้อในกระแสเลือดได้รับการติดตามรักษาและเจาะโลหิตซ้ำทุกรายเพื่อลดพยาธิสภาพที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
  4. ผู้ป่วยที่ปรากฏอาการอวัยวะบวมโตได้รับการจัดการดูแลเพื่อไม่ให้มีความทุกข์จากภาวะของโรค
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2564 00:00 น.