กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัย (ขนาด 30.00)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัยเพิ่มขึ้น
30.00 60.00 80.00

ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัยเพิ่มขึ้น

ไม่มี

นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมนำไปปรับพฤติกรรมของตนเอง และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ สังเกตจากการร่วมตอบคำถามในขณะร่วมกิจกรรมกับวิทยากร

2 เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีพฤติกรรมแยกแยะขยะถูกต้อง (ขนาด 30.00)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีพฤติกรรมแยกแยะขยะถูกต้องเพิ่มขึ้น
30.00 60.00 80.00

ร้อยละของนักเรียนที่มีพฤติกรรมแยกแยะขยะถูกต้องเพิ่มขึ้น

ไม่มี

นักเรียนมีพฤติกรรมในการแยกแยะประเภทของขยะได้ถูกต้องมากขึ้นกว่าเดิม สังเกตจากการทิ้งขยะลงถัง สามารถแยกประเภทก่อนทิ้งได้

3 เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเหมาะสมตามวัย (ขนาด 50.00)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเหมาะสมตามวัยเพิ่มขึ้น
50.00 90.00 95.00

ร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเหมาะสมตามวัยเพิ่มขึ้น

ไม่มี

นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น สังเกตจากการบันทึกการวัดส่วนสูงและชั่งน้ำหนักประจำเดือน น้ำเรียนมีส่วนสูงและน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วนเป็นส่วนใหญ่