กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัย (ขนาด 30.00)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัยเพิ่มขึ้น
30.00 60.00 80.00

นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมนำไปปรับพฤติกรรมของตนเอง และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ สังเกตจากการร่วมตอบคำถามในขณะร่วมกิจกรรมกับวิทยากร

2 เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีพฤติกรรมแยกแยะขยะถูกต้อง (ขนาด 30.00)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีพฤติกรรมแยกแยะขยะถูกต้องเพิ่มขึ้น
30.00 60.00 80.00

นักเรียนมีพฤติกรรมในการแยกแยะประเภทของขยะได้ถูกต้องมากขึ้นกว่าเดิม สังเกตจากการทิ้งขยะลงถัง สามารถแยกประเภทก่อนทิ้งได้

3 เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเหมาะสมตามวัย (ขนาด 50.00)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเหมาะสมตามวัยเพิ่มขึ้น
50.00 90.00 95.00

นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น สังเกตจากการบันทึกการวัดส่วนสูงและชั่งน้ำหนักประจำเดือน น้ำเรียนมีส่วนสูงและน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วนเป็นส่วนใหญ่

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 334 334
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 334 334

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอย่างเหมาะสมและปลอดภัย (ขนาด 30.00) (2) เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนที่มีพฤติกรรมแยกแยะขยะถูกต้อง (ขนาด 30.00) (3) เพื่อเพิ่มร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดีเหมาะสมตามวัย (ขนาด 50.00)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ นักเรียนได้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและคุ้มค่า (2) กิจกรรมสร้างเครือข่าย / อย. น้อยสอนน้อง ทำให้โรงเรียนและนักเรียนมีเครือข่าย อย. น้อยในโรงเรียน เป็นตัวแทนแกนนำในการทำกิจกรรมเกี่ยวกับ อย.น้อย (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ นักเรียนได้มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ อย.น้อย ได้ง่ายยิ่งขึ้น (4) กิจกรรมสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน แม่ครัวและผู้ประกอบการจำหน่ายสินค้าในโรงเรียนรู้จักหลักการประกอบอาหารและจำหน่ายสินค้าที่ถูกหลักอนามัย นักเรียนสามารถแยกประเภทของขยะได้ถูกประเภท มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถังขยะ (5) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ นักเรียนได้รู้จักการอ่านค่าของสารปนเปื้อนที่ตวรจในอาหารว่าปลอดภัยหรือไม่ รู้จักการอ่านฉลากของยาและ อย ในอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การดำเนินงานโครงการบางกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอบรมเป็นไปด้วยความล่าช้า เพราะสถานการณ์โควิดระบาทในพื้นที่ (2) ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองนักเรียน หรือ คนในชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการด้วย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh