กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเนียง


“ โครงการเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดภัย ”

อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสามิต ละอองดิลก

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดภัย

ที่อยู่ อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดภัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเนียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเนียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เกษตรอินทรีย์ คือ การทำการเกษตรแบบองค์รวมซึ่งให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน การรักษาแหล่งน้ำให้สะอาด และการฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่การทำการเกษตรและปศุสัตว์ ทั้งนี้แนวทางเกษตรอินทรีย์อาศัยกลไกและกระบวนการของระบบนิเวศในการทำการผลิต เกษตรอินทรีย์จึงปฏิเสธการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและปุ๋ยเคมี เนื่องจากสารเคมีการเกษตรดังกล่าวมีผลกระทบต่อกลไกและกระบวนการของระบบนิเวศ นอกเหนือจากการปฏิเสธการใช้สารเคมีแล้ว เกษตรอินทรีย์ยังให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุลของวงจรของธาตุอาหาร การประหยัดพลังงาน การอนุรักษ์ระบบนิเวศการเกษตร และการฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งถือได้ว่าเกษตรอินทรีย์เป็นการบริหารจัดการเชิงบวก (positive management) และการจัดการเชิงบวกนี้เองที่ทำให้เกษตรอินทรีย์แตกต่างเกษตรที่ใช้สารเคมี จากแนวคิดหลักดังกล่าว น้ำหมักชีวภาพจึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการทำเกษตรอินทรีย์ เนื่องจากน้ำหมักชีวภาพมีประโยชน์หลากหลายไม่ว่าจะทางด้านการเกษตร ด้านปศุสัตว์ ด้านการประมง และด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้น้ำหมักชีวภาพเป็นปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมี การใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อช่วยในการบำบัดน้ำเสียจากการเกษตร ปศุสัตว์ และการประมง เป็นต้น เทศบาลตำบลควนเนียงมีพื้นที่ 1.97 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 5 ชุมชน มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบและมีลำคลองทางด้านทิศตะวันตก ลักษณะที่ตั้งของชุมชนเป็นท้องกระทะ สภาพดินส่วนใหญ่เป็นดินลูกรังและดินเหนียว มีแหล่งน้ำตามธรรมชาติ จำนวน 2 แห่ง ประชาชนบางส่วนประกอบอาชีพด้านปศุสัตว์และเกษตรกรรมเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ เพาะปลูกไม้ผล ผักสวนครัว ยางพารา อีทั้งเกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจในการทำเกษตรอินทรีย์ และการนำน้ำหมักชีวภาพมาใช้ประโยชน์ในการทำการเกษตร ชมรมเศรษฐกิจพอเพียง เทศบาลตำบลควนเนียงซึ่งเกิดจากการรวมตัวของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลควนเนียงที่มีความสนใจและรักสุขภาพ ได้จัดทำโครงการเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดภัย โดยทำการเกษตรแบบยึดหลักเกษตรอินทรีย์ และชมรมมีแนวทางในการบูรณการ การทำงานร่วมกับเทศบาลตำบลควนเนียงโดยขอรับการสนับสนุนน้ำหมักชีวภาพจากโครงการรวมพลคนรักขยะ ของเทศบาลตำบลควนเนียงที่ให้การบริการกับประชาชนที่สนใจได้นำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ซึ่งชมรมจะเน้นการพัฒนาทั้งด้านความรู้ตามหลักวิชาการ การปฏิบัติที่ถูกต้อง สนับสนุนให้ประชาชนเพาะปลูกพืชผลที่ปลอดสารพิษ บริโภคผลผลิตที่ปลอดภัยและการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้อันจะนำไปสู่การพัฒนาด้านการปศุสัตว์และการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 สมาชิกกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงมีความรู้ความเข้าใจในการนำหลักเกษตรอินทรีย์ซึ่งเป็นหนึ่งใน
    หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในด้านการพัฒนาปศุสัตว์และการเกษตร 2 สมาชิกกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงนำน้ำหมักชีวภาพมาใช้ในการเกษตร 3 สมาชิกกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงเพาะปลูกพืชผลที่ปลอดสารพิษ และบริโภคผลผลิตที่ปลอดภัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเกษตรอินทรีย์ ชีวีปลอดภัย จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสามิต ละอองดิลก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด