กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระดังงา


“ โครงการหนูน้อยมือสะอาด ”

ตำบลกระดังงา อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ครู รักษาราชการแทนหัวหน้า ศพด.อบต.กระดังงา

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยมือสะอาด

ที่อยู่ ตำบลกระดังงา อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5234-3-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยมือสะอาด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกระดังงา อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระดังงา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยมือสะอาด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยมือสะอาด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกระดังงา อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5234-3-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระดังงา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบัน มีเชื้อโรคมากมายที่สามารถติดต่อผ่านการสัมผัส ซึ่ง "มือ" คืออวัยวะที่ใช้ทำกิิจกรรมต่างๆมากมาย จึงเป็นอวัยวะที่สัมผัสกับร่างกายของตนเอง ร่างกายผู้อื่นและสิ่งแวดล้อมทั่วไป ซึ่งมีทั้งที่สะอาดและสกปรก อาจนำเชื้อโรคเข้าสุู่ร่างกายได้โดยง่าย และก็สามารถกระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่น จากการสัมผัสกันโดยตรงหรือสัมผัสผ่านตัวกลาง จากข้อมูลองค์การอนามัยโลก พบว่าในแต่ละปีมีเด็กมากกว่า 1.5 ล้านคน ต้องเสียชีวิตจากโรคท้องร่วง อันเป็นผลมาจากการขาดสุขอนามัยที่ดี และละเลยการล้างมือ และตามที่มีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด 19 ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสที่สามารถก่อให้เกิดโรคทางเดินหายใจ และอาจก่อให้เกิดอาการรุนแรงเป็นปอดอักเสบและเสียชีวิตได้ สามารถติดต่อผ่านทางการสัมผัสโดยตรงกับละอองของสารคัดหลั่งจากระบบทางเดินหายใจและน้ำลายของผู้ติดเชื้อ เช่น ไอ จาม น้ำมูก น้ำลาย และยังสามารถแพร่เชื้อจากบุคคลหนึ่งไปสู่บุคคลอื่นได้ จากการสัมผัสพื้นผิวที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัส ซึ่งเชื้อดังกลาวสามารถมีีีชีวิตอยู่บนพื้นผิวต่างๆ หลายชั่วโมง เมื่อมือไปสัมผัสจะเป็นช่องทางนำเชื้อเข้าสู่ร่างกายทางเดินหายใจและลงสู่ปอดในที่สุด มือ จึงเป็นอวัยวะที่อาจนำเชื้อโรคเได้ การล้างมืออย่างถูกวิธีจึงเป็นวิธีป้องกันเชื้อโรคต่างๆ โดยเฉพาะไวรัสโควิด 19 เพื่อลดการเจ็บป่วยของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเป็นการส่งเสริมสุขภาพทั้งระยะสั้นและระยะยาว ผ่านการ ที่เด็กๆมีทักษะความรู้ ความเข้าใจที่ดี เรื่องการล้างมือให้สะอาดผ่านกิจกรรมการเรียนการสอนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลกระดังงา และจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขั้นพื้นฐานที่เริ่มจากการที่เด็กรักที่จะมีมือสะอาด จนนำไปสู่การเป็นผู้มีความตระหนักและรักสุขภาพของตนเองในอนาคตผ่านเร่ื่องเล็กไปสู่เรื่องใหญ่ การล้างมือด้วยสบู่อย่างถูกวิธีจะช่วยป้องกันโรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ และการสัมผัสทางผิวหนังและเยื่อเมืองได้ และสามารถช่วยลดการติดเชื้อโรคได้ถึงร้อยละ 90     จากความสำคัญข้างต้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กระดังงา จึงได้จัดโครงการหนูน้อยมือสะอาดขึ้น เพื่อรณรงค์ให้เด็กเล็กตระหนักถึงความสำคัญการล้างมือให้สะอาด ก่อนจะหยิบจับหรือรับประทานอาหาร และป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด 19

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเป็นการกระตุ้น สร้างความตระหนักและให้เด็กเล็กมีความรู้ เกี่ยวกับการล้างมือ 7 ขั้นตอนเพื่อลดกาแพร่ระบายกระจายเชื้อโรคที่ติดต่อในระบบทางเดินอาหาร และระบบทางเดินหายใจ 2.เพื่อเสริมสร้างสุขอนามัยที่ดีและถูกต้องแก่เด็กเล็ก 3.เพื่อช่วยให้เด็กเล็กมีคุณภาพที่แข็งแรง สามารถศึกษาเล่าเรียนได้โดยไม่ขาดตอน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 82
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.สร้างนิสัยการล้างมือให้แก่เด็กเล็ก 2.เด็กเล็กได้รับความรู้และสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง 3.ลดการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ของเด็กเล็ก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อเป็นการกระตุ้น สร้างความตระหนักและให้เด็กเล็กมีความรู้ เกี่ยวกับการล้างมือ 7 ขั้นตอนเพื่อลดกาแพร่ระบายกระจายเชื้อโรคที่ติดต่อในระบบทางเดินอาหาร และระบบทางเดินหายใจ 2.เพื่อเสริมสร้างสุขอนามัยที่ดีและถูกต้องแก่เด็กเล็ก 3.เพื่อช่วยให้เด็กเล็กมีคุณภาพที่แข็งแรง สามารถศึกษาเล่าเรียนได้โดยไม่ขาดตอน
    ตัวชี้วัด : 1.เด็กเล็กสามารถฝึกปฏิบัติการล้างมือ 7 ขั้นตอนได้อย่างครบถ้วน 2.เด็กเล็กมีนิสัยรักความสะอาด และล้างมือทุกครั้งก่อนรับประทานอาหารและหลังจากเข้าห้องน้ำจนเป็นกิจวัตร 3.เด็กเล็กหยุดเรียนเนื่องจากเป็นไข้หวัดหรือป่วยน้อยลง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 82
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 82
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเป็นการกระตุ้น สร้างความตระหนักและให้เด็กเล็กมีความรู้ เกี่ยวกับการล้างมือ 7 ขั้นตอนเพื่อลดกาแพร่ระบายกระจายเชื้อโรคที่ติดต่อในระบบทางเดินอาหาร และระบบทางเดินหายใจ  2.เพื่อเสริมสร้างสุขอนามัยที่ดีและถูกต้องแก่เด็กเล็ก  3.เพื่อช่วยให้เด็กเล็กมีคุณภาพที่แข็งแรง สามารถศึกษาเล่าเรียนได้โดยไม่ขาดตอน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยมือสะอาด จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L5234-3-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ครู รักษาราชการแทนหัวหน้า ศพด.อบต.กระดังงา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด