กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก


“ โครงการรณรงค์ให้เด็กนักเรียนรับประทานอาหารที่มีสารไอโอดีน ปี ๒๕๖๐ ”

ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาซือเร๊าะแลแงแน

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ให้เด็กนักเรียนรับประทานอาหารที่มีสารไอโอดีน ปี ๒๕๖๐

ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2475-02-007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ให้เด็กนักเรียนรับประทานอาหารที่มีสารไอโอดีน ปี ๒๕๖๐ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ให้เด็กนักเรียนรับประทานอาหารที่มีสารไอโอดีน ปี ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ให้เด็กนักเรียนรับประทานอาหารที่มีสารไอโอดีน ปี ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2475-02-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จัดงาน วันไอโอดีนแห่งชาติ เพื่อเป็นการสนองพระราชดำริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ต้องการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนในหมู่คนไทย จากผลสำรวจปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ และความครอบคลุมเกลือไอโอดีนที่ได้มาตรฐานระดับครัวเรือน ถึงแม้จะมีแนวโน้มที่ดีขึ้นเล็กน้อย แต่เมื่อเทียบกับเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลกยังอยู่ระดับที่ไม่น่าไว้วางใจ จึงยังต้องเพิ่ม ยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานและต้องมีการทำอย่างต่อเนื่องให้ประชากรในพื้นที่ได้รับสารไอโอดีนเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย โรคขาดสารไอโอดีนเป็นปัญหาสาธารณสุขทางด้านโภชนาการที่สำคัญ เป็นต้นเหตุที่พบมากที่สุดของภาวะ ปัญญาอ่อนซึ่งป้องกันได้ พบได้ในทุกกลุ่มอายุ แต่จะมีผลร้ายแรงชัดเจนในทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์ จนอายุ ๒-๓ ปี โดยมี ผลลดความเฉลียวฉลาด หรือไอคิวของเด็กได้ถึง ๑๐-๑๕ จุด ซึ่งจะมีผลกระทบ ต่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยปกติร่างกายต้องการสารไอโอดีนทุกวัน วันละ ๑๐๐-๑๕๐ ไมโครกรัม ในส่วนของหญิงมีครรภ์ หากขาดสารไอโอดีนจะทำให้ทารกตายตั้งแต่อยู่ในครรภ์ หรือแท้ง หรือพิการตั้งแต่กำเนิด เด็กที่เกิดจากแม่ที่ขาดสารไอโอดีนมีโอกาสที่จะเป็นปัญญาอ่อน เป็นใบ้ ช่วยตัวเองไม่ได้ กลายเป็นเด็กเอ๋อ ส่วนในเด็กวัยเรียนที่ขาดสารไอโอดีน จะส่งผลให้เรียนรู้ช้า เฉื่อยชา เป็นคอพอก เพราะสารไอโอดีนมีความสำคัญมากต่อการพัฒนาสมองทารกที่อยู่ในครรภ์ ต้องการสารไอโอดีนจากมารดาในการเพิ่มจำนวนและขนาดเซลล์สมอง และช่วยสร้างโครงข่ายใยประสาทที่ต่อเชื่อมถึงกัน สร้างปลอกหุ้มเซลล์ใยประสาทอย่างต่อเนื่อง ส่วนในวัยผู้ใหญ่ หากขาดสารไอโอดีนจะทำให้กลายเป็นคนเซื่องซึม เฉื่อยชา ประสิทธิภาพการทำงานลดลง
นอกจากนี้ ยังมีการสำรวจการครอบคลุมกระจายเกลือเสริมไอโอดีนระดับครัวเรือน พบการใช้เกลือเสริมไอโอดีน ยังถือว่าอยู่ในระดับต่ำ เมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกกำหนดไว้ที่ร้อยละ ๙๐ซึ่งการแก้ไขปัญหาขณะนี้คือการส่งเสริมให้จัดตั้งเป็นกองทุนเกลือเสริมไอโอดีน และส่งเสริมการใช้เกลือไอโอดีนในครอบครัวจะเห็นได้ว่าสถานการณ์การขาดสารไอโอดีนในภาพรวมดีขึ้นแต่ปัญหาการขาด สารไอโอดีนในพื้นที่ ก็ยังคงมีอยู่ จึงจำเป็นต้องแก้ไขต่อไป
พื้นที่หมู่ที่ ๕ บ้านไอร์โซเป็นพื้นที่พระราชดำริ มีการบริโภคเกลือไอโอดีนในครัวเรือนอยู่ในขั้นต่ำและขาดความรู้ความสำคัญของสารไอโอดีนที่มีต่อสุขภาพ ดังนั้นควรส่งเสริมให้มีการรณรงค์บริโภคเกลือเสริมสารไอโอดีนกระจายเกลือเสริมไอโอดีนในชุมชนและสถานศึกษาให้ครอบคลุมจึงจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาใน ชุมชนอย่างจริงจังขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับสารไอโอดีน ๒ เพื่อให้เด็กมีความรู้เรื่องประโยชน์สารไอโอดีนต่อสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดหาเกลือไอโอดีน
  2. อบรม
  3. ประกวดจัดบอร์ดนิทรรศการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลจาการดำเนินงานทำให้เด็กนักเรียนได้รับสารไอโอดีนและเด็กมีความรู้เรื่องประโยชน์สารไอโอดีนต่อสุขภาพ ตลอดจนมีความตระหนักการได้รับอาหารที่มีสารไอโอดีนเพื่อสุขภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดหาเกลือไอโอดีน

วันที่ 7 มิถุนายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

130 0

2. อบรม

วันที่ 16 มิถุนายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

100 0

3. ประกวดจัดบอร์ดนิทรรศการ

วันที่ 23 มิถุนายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

6 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑ เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับสารไอโอดีน ๒ เพื่อให้เด็กมีความรู้เรื่องประโยชน์สารไอโอดีนต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ๑ เด็กนักเรียนได้รับสารไอโอดีนร้อยละ ๑๐๐ ๒ เด็กมีความรู้เรื่องประโยชน์สารไอโอดีนต่อสุขภาพ ร้อยละ ๑๐๐

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับสารไอโอดีน ๒ เพื่อให้เด็กมีความรู้เรื่องประโยชน์สารไอโอดีนต่อสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดหาเกลือไอโอดีน (2) อบรม (3) ประกวดจัดบอร์ดนิทรรศการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ให้เด็กนักเรียนรับประทานอาหารที่มีสารไอโอดีน ปี ๒๕๖๐ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2475-02-007

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนาซือเร๊าะแลแงแน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด