กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการขี้ผึ้งสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
รหัสโครงการ 64-L8411-02-25
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านทำนบ
วันที่อนุมัติ 16 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 29 พฤศจิกายน 2564 - 3 ธันวาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 16,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพิไลลักษณ์ สุขเทพ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.355399858,101.3271073place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ซึ่งสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์น้ำท่วมทำให้ผู้คนเกิดเป็นโรคน้ำกัดเท้า ชาวบ้านทั่วไปตลอดจนนักเรียนประสบกับปัญหานี้เป็นจำนวนมาก จากความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านส่วนใหญ่หลายๆแห่งมารวมกันมีการผลิตขี้ผึ้งสมุนไพร ขึ้นมาใช้เอง รายละเอียด ส่วนผสม และสรรพคุณของสมุนไพรต่างๆภายในบ้านเราพบว่ามีการใช้น้ำมันดอกทานตะวันมาเป็นส่วนผสมในการทำขี้ผึ้งสมุนไพร แต่น้ำมันดอกทานตะวันนั้นค่อนข้างมีราคาที่แพง ผู้คนส่วนใหญ่จึงคิดว่าในการผลิตขี้ผึ้งรักษาโรคน้ำกัดเท้านั้นใช้ส่วนผสมกับน้ำมันดอกทานตะวันเท่านั้น น้ำมันมะพร้าวเป็นทางเลือกได้อีกทางหนึ่งด้วยและน้ำมันมะพร้าวนั้นมีราคาที่ถูกว่าน้ำมันดอกทานตะวันและเพื่อการทดลองที่มีประสิทธิภาพของการใช้น้ำมันมะพร้าวอีกทางหนึ่ง โดยใช้ วาสลีน ขี้ผึ้ง ไพล ขมิ้น ตะไคร้หอม น้ำมันมะพร้าว พิมเสน เมนทอล และ การบูร นำไปหลอมให้เข้ากันทีละขั้นตอน ตามส่วนผสมที่กำหนดไว้ และได้นำไปเปรียบเทียบกับ ขี้ผึ้งที่ทำมาจากนำมันดอกทานตะวันพบว่าขี้ผึ้งที่ทำจากน้ำมันมะพร้าวมีประสิทธิภาพดีกว่าและมีราคาถูกกว่า นอกจากการนำขี้ผึ้งสมุนไพรด้านการป้องกันและรักษาโรคน้ำกัดเท้าแล้วสรรพคุณขี้ผึ้งสมุนไพรยังสามารถใช้ทาและนวดบรรเทาอาการ เคล็ด ขัด ยอก ช้ำบวมปวดกล้ามเนื้อ ปวดเส้นเอ็น แมลงสัตว์กัดต่อย น้ำร้อนลวก แก้หวัด คัดจมูกเป็นลม วิงเวียนศีรษะ ดังนั้น โรงเรียนบ้านทำนบ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขั้นพื้นฐานที่เริ่มจากการที่เด็กรักที่จะรักษาสุขภาพ จนนำไปสู่การเป็นผู้มีความตระหนักและรักสุขภาพของตนเองในอนาคตผ่านเรื่องเล็กไปสู่เรื่องใหญ่และยังสามารถทำเป็นอาชีพเสริมได้อีกทางหนึ่งต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร

 

0.00
2 เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญเกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร

 

0.00
3 เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย

 

0.00
4 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำขี้ผึ้งสมุนไพร

 

0.00
5 เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปพัฒนาเป็นอาชีพได้

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญเกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำขี้ผึ้งสมุนไพร

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 5 : เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปพัฒนาเป็นอาชีพได้

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

29 พ.ย. 64 - 3 ธ.ค. 64 อบรมรับความรู้จากวิทยากรและปฏิบัติตามขั้นตอนการทำขี้ผึ้งสมุนไพร 0.00 16,200.00 -
29 พ.ย. 64 - 3 ธ.ค. 64 อบรมรับความรู้จากวิทยากรและปฏิบัติตามขั้นตอนการทำขี้ผึ้งสมุนไพร 110.00 16,200.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร
  2. นักเรียนเห็นความสำคัญเกี่ยวกับการรักษาพืชสมุนไพร
  3. นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย
  4. นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำขี้ผึ้งสมุนไพร
  5. นักเรียนนำความรู้ไปพัฒนาเป็นอาชีพได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 มี.ค. 2564 09:36 น.