กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ


“ โครงการการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน ”

ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอฮานา โตะโด

ชื่อโครงการ โครงการการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L8411-02-32 เลขที่ข้อตกลง 32/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L8411-02-32 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 28 กุมภาพันธ์ 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คนไทยเป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่า 12 ล้านคน แต่มีผู้เข้าถึงการรักษาและขึ้นทะเบียนเพียง 4 ล้านคน ซึ่งควบคุมความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ได้เพียงร้อยละ 29.7 แสดงให้เห็นว่า มาตรการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงที่ผ่านมา ยังไม่เพียงพอที่จะทำให้ความดันโลหิตในคนไทยลดลง ยังเกิดโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น ที่ป่วยแล้วยังเข้าไม่ถึงบริการมากกว่าครึ่งตลอดจนการวินิจฉัย/การรักษาก็ยังไม่ดีเท่าที่ควร
การศึกษาในผู้สูงอายุไทยที่เป็นความดันฯสูงควบคุมไม่ได้ พบว่า การวัดความดันฯด้วยตนเองที่บ้านช่วยให้อัตราการควบคุมความดันฯได้เพิ่มขึ้นมากกว่า ร้อยละ 50 และผู้ป่วยความดันฯสูงที่วัดความดันฯด้วยตนเองที่บ้าน ช่วยลดระดับความดันฯได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 4 – 8 มม.ปรอท ในเวลา1 ปี เมื่อเทียบกับการวัดความดันฯที่โรงพยาบาล ดังนั้นการวัดความดันโลหิตที่บ้าน (Home Blood Pressure Monitoring: HBPM) หรือ การวัดความดันโลหิตด้วยตนเอง (Self Monitoring Blood Pressure: SMBP) จึงเป็นสิ่งจำเป็นในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ เกณฑ์คนไข้โรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันได้ดี คิดเป็น ร้อยละ 50 ผลงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทำนบ คนไข้โรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2562 คิดเป็นร้อยละ 44.90 ซึ่งพบว่าคนไข้ควบคุมความดันฯไม่ได้ตามเกณฑ์ รพ.สต จึงจัดทำโครงการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง – การวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน เพื่อดำเนินการดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรอง วินิจฉัย รักษาและติดตามความดันโลหิตในผู้ที่มีความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯและการใช้ยา และติดตามผลของการใช้ยาและปรับพฤติกรรมฯ 3 อ. 2 ส. เพื่อการควบคุมความดันฯสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิตที่บ้านแบบอัตโนมัติตามเกณฑ์มาตรฐาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 จำนวนผู้ป่วยโรคความดันฯสูง ที่ใช้เครื่องวัดความดันโลหิตที่บ้านฯดังกล่าว วัดความดันฯตนเองที่บ้าน อย่างน้อย 7 วันก่อนวันนัดตรวจ ในระยะเวลาดำเนินการ 3 .เดือน 2 ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงคุมความดันได้ คิดเป็นร้อยละ 54


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิตที่บ้านแบบอัตโนมัติตามเกณฑ์มาตรฐาน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

4.1 ขอสนับสนุน อปท./กองทุนฯท้องถิ่น ในการจัดหาเครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติ เพื่อสนับสนุนการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้านของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีความจำเป็นตามลำดับก่อนหลัง 4.2 แนะนำและสอนให้ผู้ป่วยวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน 5 ขั้นตอน: คุยความรู้ ทำให้ดู ดูให้ทำ ทำเองได้ ไม่ต้องดู และอยู่ยั่งยืน 4.3 ประสานความร่วมมือกับ อสม.ติดตามและช่วยเหลือผู้ป่วยวัดความดันโลหิตกรณีที่ผู้ป่วยไม่มั่นใจหรือต้องการความช่วยเหลือ 4.4 ให้ผู้ป่วยบันทึกค่าความดันโลหิตที่วัดในช่วงเช้าและก่อนนอนทุกวันเป็นเวลา 4-7 วัน หรืออย่างน้อย 7 วันก่อนวันนัดตรวจทุกครั้ง และนำมาปรึกษา รพ.สตหรือเจ้าหน้าที่รพ.เพื่อปรึกษาหรือส่งต่อพบแพทย์ หรือส่งผ่านช่องทางอื่นแล้วแต่กรณีโดยผู้ที่ไม่สามารถจัดหาเครื่องวัดความดันโลหิตด้วยตนเองทางโครงการจะขอสนับสนุนจากกองทุนฯท้องถิ่นเพื่อจัดหาและให้ยืม 4.5 แพทย์ตรวจสอบค่าความดันโลหิต ซักถามประวัติ วินิจฉัยหาสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพที่เพิ่ม หรือลดความดันฯที่บ้านเพื่อปรับเปลี่ยนฯ และให้การรักษา เพื่อควบคุมความดันโลหิต ปรับยาหรือหยุดยาแล้วแต่กรณี 4.6 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการพร้อมแบบรายงานหรือบัญชีรายชื่อผู้ที่เข้าร่วมโครงการ (ตามภาคผนวก) ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นตำบลตาเนาะปูเต๊ะ ผู้ดำเนินงาน ควรมีความรู้และแนวทางการจัดการการวัดความดันโลหิตด้วยตัวเองที่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 จำนวนผู้ป่วยโรคความดันฯสูง ที่ใช้เครื่องวัดความดันโลหิตที่บ้านฯดังกล่าว วัดความดันฯตนเองที่บ้าน อย่างน้อย 7 วันก่อนวันนัดตรวจ ในระยะเวลาดำเนินการ 3 .เดือน 2 ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงคุมความดันได้ คิดเป็นร้อยละ 54

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรอง วินิจฉัย รักษาและติดตามความดันโลหิตในผู้ที่มีความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯและการใช้ยา และติดตามผลของการใช้ยาและปรับพฤติกรรมฯ 3 อ. 2 ส. เพื่อการควบคุมความดันฯสูง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรอง วินิจฉัย รักษาและติดตามความดันโลหิตในผู้ที่มีความดันโลหิตสูง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯและการใช้ยา และติดตามผลของการใช้ยาและปรับพฤติกรรมฯ 3 อ. 2 ส. เพื่อการควบคุมความดันฯสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิตที่บ้านแบบอัตโนมัติตามเกณฑ์มาตรฐาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L8411-02-32

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอฮานา โตะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด