กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแบบต่อเนื่อง รพสต.พรวน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแบบต่อเนื่อง รพสต.พรวน ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายพรชัย กลัดเข็มทอง

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแบบต่อเนื่อง รพสต.พรวน

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5240-1-12 เลขที่ข้อตกลง 9/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแบบต่อเนื่อง รพสต.พรวน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแบบต่อเนื่อง รพสต.พรวน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแบบต่อเนื่อง รพสต.พรวน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5240-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากกระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบต่อวิถีชีวติและสุขภาพ ทั้งทางตรง และทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง เช่น การบริโภค การออกกำลังกาย ความเครียด การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น จังหวัดสงขลาพบว่ามีจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในปี 2560 เท่ากับ 45,669 และผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในปี 2560 เท่ากับ 50,443 ราย เพิ่มขึ้น 4,764 ราย จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เท่ากับ 111,517 รายและในปี 2560 เท่ากับ119,813 ราย เพิ่มขึ้น 9,296 ราย และจากการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. ด้านอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ในกลุ่มเสี่ยง พบว่ามีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องค่อนข้างสูงในเรื่องการรับประทานผักไม่หลากหลายชนิดใน 1 วัน การออกกำลังกายที่ไม่เหมาะสมกับเพศ วัย และอายุตลอดจนความเครียดที่สะสม จากการใช้ชีวิตประจำวันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งล้วนแต่ทำให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพโดยรวม จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวนปี 2563 พบว่าผู้ป่วยเบาหวาน 65 คน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 208 คน ผลการคัดกรองความดันโลหิต เป้าหมายประชากร 735 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง 733 คน คิดเป็นร้อยละ 99.73 คัดกรองเบาหวาน ประชากรเป้าหมาย 873 คน ได้รับการตรวจคัดกรอง870คน คิดเป็นร้อยละ 99.66 กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตจำนวน 33 คน ร้อยละ 4.48 (เกินเกณฑ์2.40) กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 1.03 จำนวนผู้ป่วยติดเตียง 3 ราย ผู้ป่วยติดบ้าน 3 ราย ซึ่งอยู่ในอัตราป่วยค่อนข้างสูง ขึ้นเรื่อยๆ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขได้มีการ ทำโครงการครวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยติดเตียงเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแบบต่อเนื่อง เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกันโรค ไม่ให้ผู้ป่วยเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน และกลุ่มเสี่ยงไม่เป็นโรค ผู้ป่วยติดเตียงได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งต่อคน
  2. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยติดบ้าน/ผู้ป่วยติดเตียงได้รับการดูแลแบบต่อเนื่องอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้งต่อคน โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน และอาสาสมัครสาธารณสุข
  3. กลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไม่เกินร้อยละ 2.40
  4. กลุ่มเสี่ยงไม่มีภาวะแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 894
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มเสี่ยงที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งต่อคน ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโรคเบาหวาน
    2.ผู้ป่วยติดเตียงได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้งต่อคนโดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวนและอาสาสมัครสาธารณสุขโดยผู้ป่วยและญาติสามารถปฏิบัติตนได้ไปในทางที่ดี และถูกต้องต่อไป 3.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดัน/เบาหวานไม่ป่วยเป็นโรคและกลุ่มป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนต่อโรค


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งต่อคน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 7-9 ตำบลท่าหิน ได้รับการคัดกรองเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95 และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร้อยละ 50
    95.00

     

    2 เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยติดบ้าน/ผู้ป่วยติดเตียงได้รับการดูแลแบบต่อเนื่องอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้งต่อคน โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน และอาสาสมัครสาธารณสุข
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยติดเตียงประเภทที่3 และที่4 ได้รับการดูแลต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 100
    100.00

     

    3 กลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไม่เกินร้อยละ 2.40
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไม่เกินร้อยละ 2.4
    2.40

     

    4 กลุ่มเสี่ยงไม่มีภาวะแทรกซ้อน
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงไม่มีภาวะแทรกซ้อนร้อยละ 5
    5.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 894
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 894
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งต่อคน (2) เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยติดบ้าน/ผู้ป่วยติดเตียงได้รับการดูแลแบบต่อเนื่องอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้งต่อคน โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน และอาสาสมัครสาธารณสุข (3) กลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไม่เกินร้อยละ 2.40 (4) กลุ่มเสี่ยงไม่มีภาวะแทรกซ้อน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแบบต่อเนื่อง รพสต.พรวน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L5240-1-12

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายพรชัย กลัดเข็มทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด