กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนเทศบาล 1 (สังขวิทย์) ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายกำธร ไตรบุญ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนเทศบาล 1 (สังขวิทย์)

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2564-L6896-05-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนเทศบาล 1 (สังขวิทย์) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนเทศบาล 1 (สังขวิทย์)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนเทศบาล 1 (สังขวิทย์) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2564-L6896-05-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 119,340.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019เป็นโรคโรคติดต่ออันตรายลำดับที่ 15 ตาม พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558และได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม2563 และได้ขยายระยะเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินคราวที่ 6 ออกไปจนถึงวันที่ 31 ตุลาคม2563 นั้น และจากข้อมูลสถิติสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จากกรมควบคุมโรค ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2563 พบว่าในประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อสะสมจำนวน 4,261ราย โดยเป็นรายใหม่ จำนวน 9 ราย มีผู้เสียชีวิต จำนวน 60 ราย และรักษาหายแล้ว 3,977 ราย จักเห็นได้ว่าสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ยังคงมีความรุนแรง ทั้งยังปรากฏว่ามีการระบาดของโรคดังกล่าวอย่างรุนแรงจนควบคุมไม่ได้แล้วในหลายประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศไทย ประกอบกับข้อมูลทางสาธารณสุขพบว่าเชื้อโรคได้กลายพันธุ์เป็นหลายสายพันธุ์ ในขณะที่การผลิตวัคซีนและยาเพื่อการป้องกันและรักษาโรคยังไม่ประสบผลสำเร็จ ซึ่งจากข้อมูลและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นทำให้เกิดการตื่นตระหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทยจากสถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้
ทั้งนี้กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการได้ออกมาตรการป้องกันโควิด-19 ในโรงเรียนและสถานศึกษา จำนวน 6 มาตรา ซึ่งประกอบด้วย 1.มีมาตรการคัดกรองวัดไข้และอาการเสี่ยงก่อนเข้าสถานศึกษา 2.สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลา 3.จัดจุดล้างมือหรือเจลแอลกอฮอล์อย่างเพียงพอ 4.จัดระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1-2 เมตร5.ทำความสะอาดห้องเรียน/พื้นผิวสัมผัสร่วม เปิดหน้าต่างประตู ระบายอากาศ 6.ไม่จัดกิจกรรมรวมกลุ่มคนจำนวนมาก เหลื่อมเวลา ลดเวลาทำกิจกรรม โรงเรียนเทศบาล 1 (สังขวิทย์) มีจำนวนนักเรียน 1,028 คน บุคลากร 65 คนมีการจัดการเรียนการสอนตั้งแต่เวลาเวลา 08.30 ถึง 16.30 น. ซึ่งจัดเป็นโรงเรียนขนาดกลางและค่อนข้างมีความแออัดของนักเรียนเมื่อทำกิจกรรมร่วมกันโรงเรียนจึงมีความจำเป็นจักต้องปฏิบัติตามมาตรการในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในสถานศึกษา อย่างเคร่งครัด ทางโรงเรียนเทศบาล 1 (สังขวิทย์) จึงได้จัดทำ “โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ในโรงเรียนเทศบาล 1 (สังขวิทย์)” ขึ้นมาเพื่อเป็นการร่วมกันเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้นภายในสถานศึกษา อีกทั้งเพื่อคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียนจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19)ให้แก่นักเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
  2. เพื่อให้มีทรัพยากรเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ในช่วงมาตรการผ่อนปรนของรัฐ และช่วงเวลาที่เปิดเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่อง คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้แก่นักเรียน ในชั้นเรียน
  2. กิจกรรมการคัดกรองวัดไข้และอาการเสี่ยงก่อนเข้าสถานศึกษา
  3. กิจกรรมสรุปและประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีจุดตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เพื่อเฝ้าระวังการควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ภายในสถานศึกษา 2.ลดความตื่นตระหนกของผู้ปกครองและนักเรียน และสร้างความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรค
3.นักเรียนคณะครูและบุคคลากรศึกษา ในโรงเรียนและผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้อย่างถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่อง คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้แก่นักเรียน ในชั้นเรียน

วันที่ 29 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์จำนวนกลุ่มเป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ - ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน 2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง 3.ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 1. จัดอบรม ให้ความรู้กับนักเรียน บุคลากรทางการศึกษาในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
2. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางการควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข 3. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ขณะเปิดเรียน 4. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสาถานการณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันโรค
5. สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน ผู้ปกครอง และบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนและผู้เกี่ยวข้อง มีความรู้ ความเข้าใจ โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์สื่อสารข้อมูลเบื้องต้น เกี่ยวกับโรคโควิด-19 ให้ทุกคนทราบถึงวิธีการป้องกัน และข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับสถานการณ์ เพื่อติดตามและเฝ้าระวังสถานการณ์ เตรียมพร้อมรับมือกับผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่วการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารกระทำโดยผ่านทางเพจเฟซบุ๊กของสถานศึกษา และผ่านช่องทางแอปพลิเคชัน LINE ทั้งนี้ได้จัดหาสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ติดตามบริเวณพื้นที่ต่างๆ ภายในโรงเรียน เพื่อให้บุคลากรของโรงเรียนและบุคคลากรภายนอกมาติดต่อราชการได้รับรู้วิธีการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 สามารถปฏิบัติตามแนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดได้อย่างถูกต้อง

 

0 0

2. กิจกรรมการคัดกรองวัดไข้และอาการเสี่ยงก่อนเข้าสถานศึกษา

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์จำนวนกลุ่มเป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ - ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน 2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง 3.ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 1. จัดอบรม ให้ความรู้กับนักเรียน บุคลากรทางการศึกษาในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
2. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางการควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข 3. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ขณะเปิดเรียน 4. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสาถานการณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันโรค
5. สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โรงเรียนมีมาตรการเตรียมความพร้อมในระบบของการคัดกรองและจัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิ สบู่ล้างมือ เจลแอลกอฮอล์ และหน้ากากอนามัย เพียงพอต่อความต้องการของนักเรียนบุคคลากรและผู้ที่มาติดต่อในโรงเรียนเพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการป้องกันโรคภายในโรงเรียนเพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการป้องกันภายในสถานศึกษาผู้ปกครองนักเรียนมีความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยให้ความร่วมมือและปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด ทางโรงเรียนได้ประสานงานขอความร่วมมือจากผู้ปกครองและนักเรียนที่มาติดต่อทางโรงเรียน และผู้มาติดต่อราชการ ต้องสวมหน้ากากอนามัยก่อนเข้าโรงเรียน ซึ่งจะมีหน้าที่ ทำการตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายหรือวัดไข้ บริเวณทางเข้าประตูโรงเรียนใกล้อาคาร 6 โดยเว้นระยะห่างอย่างเหมาะสม และลงชื่อข้าใช้บริการติดตั้งป้าย QR CODE แอปไทยชนะ หรือสมุดลงชื่อไว้ที่บริเวณจุดคัดกรอง สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในบริเวณโรงเรียน หากผู้มารับบริการไม่ได้นำหน้ากากอนามัยมาทางโรงเรียนจะมีหน้ากากอนามัยสำรองไว้ให้นอกจากนี้จัดให้มีที่ล้างมือพร้อมสบู่เหลวหรือเจลแอลกอฮอล์ไว้บริการในบริเวณตามจุดต่างๆของโรงเรียน

 

0 0

3. กิจกรรมสรุปและประเมินผลโครงการ

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์จำนวนกลุ่มเป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ - ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน 2.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง 3.ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 1. จัดอบรม ให้ความรู้กับนักเรียน บุคลากรทางการศึกษาในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
2. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางการควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข 3. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ขณะเปิดเรียน 4. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสาถานการณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันโรค
5. สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทางโรงเรียนได้สรุปกิจกรรมและประเมินผลโครงการส่งเป็นรูปเล่มมายังกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2564

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19)ให้แก่นักเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตัวชี้วัด : นักเรียน บุคลากรทางการศึกษามีความรู้ในการป้องกันตนเองอย่างครอบคลุมป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
0.00

 

2 เพื่อให้มีทรัพยากรเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ในช่วงมาตรการผ่อนปรนของรัฐ และช่วงเวลาที่เปิดเรียน
ตัวชี้วัด : มีการจัดซื้ออุปกรณ์/เครื่องมือที่จำเป็นในการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ภายในสถานศึกษา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19)ให้แก่นักเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา (2) เพื่อให้มีทรัพยากรเพียงพอต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ในช่วงมาตรการผ่อนปรนของรัฐ และช่วงเวลาที่เปิดเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เรื่อง คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้แก่นักเรียน ในชั้นเรียน (2) กิจกรรมการคัดกรองวัดไข้และอาการเสี่ยงก่อนเข้าสถานศึกษา (3) กิจกรรมสรุปและประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนเทศบาล 1 (สังขวิทย์) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2564-L6896-05-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกำธร ไตรบุญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด