กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมการคัดกรองวัดไข้และอาการเสี่ยงก่อนเข้าสถานศึกษา7 ตุลาคม 2564
7
ตุลาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์จำนวนกลุ่มเป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ - ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน 2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง 3. ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ   1. จัดอบรม ให้ความรู้กับบุคลากรทางการศึกษา เจ้าหน้าที่และนักเรียนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19)
  2. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางการควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข   3. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ขณะเปิดเรียน   4. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสาถานการณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันโรค
  5. สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ดำเนินการจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์/เครื่องมือที่จำเป็นในการคัดกรอง เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายในสถานศึกษาแล้วเสร็จทันต่อการใช้งานของนักเรียนและผู้ปกครองซึ่งสามารถใช้วัสดุและอุปกรณ์ดังกล่าวนำมาใช้ในการป้องกันโรคติดเชื้แไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างเกิดประสิทธิผล มีมาตรฐาน และเพียงพอต่อกลุ่มเป้าหมาย

สรุปและประเมินผลโครงการ7 ตุลาคม 2564
7
ตุลาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์จำนวนกลุ่มเป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ - ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน 2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง 3. ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ   1. จัดอบรม ให้ความรู้กับบุคลากรทางการศึกษา เจ้าหน้าที่และนักเรียนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19)
  2. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางการควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข   3. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ขณะเปิดเรียน   4. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสาถานการณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันโรค
  5. สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ดำเนินการสรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการส่งทางกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรังเสร็จสิ้น

กิจกรรมให้ความรู้เรื่อง คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้แก่นักเรียนในชั้นเรียน7 ตุลาคม 2564
7
ตุลาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์จำนวนกลุ่มเป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ - ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน 2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง 3. ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ   1. จัดอบรม ให้ความรู้กับบุคลากรทางการศึกษา เจ้าหน้าที่และนักเรียนในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19)
  2. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางการควบคุมโรคของกระทรวงสาธารณสุข   3. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ขณะเปิดเรียน   4. ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสาถานการณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมในการป้องกันโรค
  5. สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้ปกครองและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ในการป้องกันตนเองอย่างครอบคลุมป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)