กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก


“ อบรมผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ประจำปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมาหัมมัด มะมิง

ชื่อโครงการ อบรมผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"อบรมผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานที่ผลิตและจำหน่ายอาหาร ถือเป็นสถานที่ซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าบริโภคที่สำคัญ อาทิเช่น ตลาด ร้านอาหารและแผงลอย การบริโภคอาหารจากสถานที่ผลิตและจำหน่ายอาหารที่ไม่สะอาด และไม่ปลอดภัย จะส่งผลให้เกิดโรคต่างๆ โรคที่ส่งผลเร็ว เช่น โรคอุจจาระร่วง ลำไส้อักเสบ เป็นต้น โรคที่ส่งผลช้าหรือค่อยๆ แสดงอาการเช่น โรคหนอนพยาธิ อันตรายจากยาฆ่าแมลง และสารปนเปื้อนอื่นๆ งานสุขาภิบาลอาหารจึงถือเป็นงานสำคัญที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับปัญหาสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากการบริโภคอาหาร ไม่ปลอดภัย ทั้งในด้านความสะอาดถูกหลักสุขาภิบาลของสถานที่ผลิตและจำหน่ายอาหาร สุขลักษณะของผู้ผลิตและผู้สัมผัสอาหาร คุณภาพอาหาร รวมไปถึงการปนเปื้อนของอาหารจากจุลินทรีย์ สารเคมีที่ก่อให้เกิดอันตรายที่ปนเปื้อนในอาหาร รวมถึงบรรจุภัณฑ์ที่ใช้พลาสติกผิดประเภท เช่น อาหารร้อนใส่ถุงพลาสติกธรรมดาหรือการใช้โฟมในการบรรจุอาหาร เป็นต้น สิ่งปนเปื้อนในอาหารที่พบมากคือ โคลิฟอร์มแบคทีเรีย สารบอแรกซ์ สารฟอกขาว สารฟอร์มารีน และสารสไตรีนจากกล่องโฟม เป็นต้น ทั้งนี้ผู้ประกอบการจำหน่ายบางรายอาจไม่ทราบถึงผลิตภัณฑ์ที่ตนเองจำหน่ายว่ามีการปนเปื้อนสารเหล่านี้อยู่ หรือบางรายอาจทราบแต่ยังไม่คำนึงถึงผลกระทบที่แท้จริง หากมีความรู้ที่ถูกต้องจะได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคมากขึ้น และเพื่อให้เป็นไปตามกฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ.๒๕๖๑ กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมตามหลักเกณฑ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนรักได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการประกอบการที่ไม่ถูกสุขลักษณะ จึงได้จัดทำโครงการอบรมผู้ประกอบกิจการ และผู้สัมผัสอาหาร ประจำปีงบประมาณ 2564 ตามมาตรฐานหลักสุขาภิบาลในเขตพื้นที่ตำบลดอนรัก ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ขึ้น โดยมีกิจกรรมการอบรม ให้ความรู้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหาร กิจกรรมการตรวจสุขลักษณะของร้านอาหารตามแบบตรวจสุขาภิบาลอาหารสำหรับ“สถานที่จำหน่ายอาหาร” และการตรวจสุขลักษณะของแผงลอยของกรมอนามัย เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา ปรับปรุงสถานที่จำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลอาหาร รวมถึงสุ่มตรวจตัวอย่างอาหารจากร้านค้านำไปตรวจวิเคราะห์ เพื่อทดสอบคุณภาพอาหาร และความปลอดภัยของอาหาร โดยขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลดอนรัก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบอาหาร/ผู้สัมผัสอาหาร
  2. เพื่อรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติกและโฟมในผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
  3. ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์เชิญผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสเข้าร่วมอบรม
  2. จัดอบรมให้ความรู้หลักสุขาภิบาลอาหาร แก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัส หลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับผู้ประกอบกิจการด้านอาหาร
  3. จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร
  4. อสม. ลงพื้นที่ สำรวจข้อมูลจำนวน ร้านอาหาร ร้านค้า แผงลอยในตำบลดอนรัก
  5. ประชุมชี้แจงผลการดำเนินงานแก่ผู้ประกอบการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 81
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยสามารถปรับปรุงร้านให้ถูกสุขลักษณะตามมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
  2. ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
  3. ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยลดการใช้ถุงพลาสติกและกล่องโฟมในการบรรจุอาหาร
  4. มีฐานข้อมูลจำนวน ร้านอาหาร ร้านค้า แผงลอยในตำบลดอนรัก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้หลักสุขาภิบาลอาหาร แก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัส หลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับผู้ประกอบกิจการด้านอาหาร

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้หลักสุขาภิบาลอาหาร แก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัส หลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับผู้ประกอบกิจการด้านอาหาร - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ในการฝึกอบรมผู้ประกอบการและผู้สัมผัส จำนวน 41 คนๆละ 25 บาทจำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,050 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 41 คน ๆละ 50 บาทจำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,050 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร 1 คน จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยสามารถปรับปรุงร้านให้ถูกสุขลักษณะตามมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
  2. ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

 

41 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบอาหาร/ผู้สัมผัสอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งผู้ประกอบอาหาร/ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร
80.00

 

2 เพื่อรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติกและโฟมในผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารมีการใช้ถุงพลาสติกและโฟมลดลง
70.00

 

3 ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 81
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 81
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบอาหาร/ผู้สัมผัสอาหาร (2) เพื่อรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติกและโฟมในผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร (3) ร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์เชิญผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสเข้าร่วมอบรม (2) จัดอบรมให้ความรู้หลักสุขาภิบาลอาหาร แก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัส หลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับผู้ประกอบกิจการด้านอาหาร (3) จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. เกี่ยวกับหลักสุขาภิบาลอาหาร (4) อสม. ลงพื้นที่ สำรวจข้อมูลจำนวน ร้านอาหาร ร้านค้า แผงลอยในตำบลดอนรัก (5) ประชุมชี้แจงผลการดำเนินงานแก่ผู้ประกอบการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้สัมผัสอาหาร ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมาหัมมัด มะมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด