โครงการขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจกัน ใส่หมวกกันน๊อค ประจำปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจกัน ใส่หมวกกันน๊อค ประจำปี 2564 ”
ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ว่าที่ ร.ต.หญิงฐิติมา ศรีสุข
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจกัน ใส่หมวกกันน๊อค ประจำปี 2564
ที่อยู่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5202(2)-1 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจกัน ใส่หมวกกันน๊อค ประจำปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจกัน ใส่หมวกกันน๊อค ประจำปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจกัน ใส่หมวกกันน๊อค ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5202(2)-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,560.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถิติอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2564 พบว่า สาเหตุหลักของอุบัติเหตุทางถนนยังคงเกิดจากการขับรถเร็ว และดื่มแล้วขับ รวมถึงผู้ใช้รถจักรยานยนต์เป็นยานพาหนะที่มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนนสูงสุด ซึ่งศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนได้ประสานจังหวัดบูรณาการสร้างความปลอดภัยทางถนนอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี ภายใต้กลไกของศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนทุกระดับ เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงอุบัติเหตุในเชิงลึกอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง รวมทั้งค้นหาปัญหาอุปสรรคและปัจจัยความสำเร็จในการลดอุบัติเหตุทางถนน เพื่อนำไปสู่การกำหนดมาตรการและแนวทางที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในแต่ละพื้นที่ นอกจากนี้ ได้เน้นย้ำให้ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนอำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมกับเจ้าหน้าที่ ภาคประชาชน จิตอาสา และอาสาสมัคร ขับเคลื่อนการลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนและหมู่บ้าน โดยเฉพาะการบังคับใช้กฎหมายจราจรอย่างเคร่งครัด เพื่อคุมเข้มพฤติกรรมเสี่ยงที่เป็นปัจจัยทำให้เกิดอุบัติเหตุรุนแรง คือ ดื่มแล้วขับ ขับรถเร็ว และการไม่ใช้อุปกรณ์นิรภัย ควบคู่กับการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างจริงจัง เพื่อสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในการใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย ตลอดจนปรับเปลี่ยนทัศนคติ ค่านิยม และสร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งจะเป็นรากฐานในการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนนอย่างยั่งยืนในสังคมไทย จาการวิเคราะห์ปัจจัยและสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุกับผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ ส่วนใหญ่มาจากการเสพสารเสพติดมึนเมา ความประมาท ความคึกคะนอง การไม่เคารพกฎจราจร และที่สำคัญคือ การไม่สวมหมวกกันน็อค
ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างจิตสำนึกและเตรียมความพร้อมในด้านความปลอดภัยบนท้องถนนและวินัยในการจราจร ให้กับพนักงานส่วนตำบล พนักงานจ้าง ขององค์การบริหารส่วนตำบลประกอบทุกคน คณะผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักปลัด จึงได้จัดทำโครงการขับขี่ปลอดภัยร่วมใจใส่หมวกกันน็อค ประจำปี 2564 ขึ้น เพื่อลดการสูญเสียทั้งในด้านชีวิตและทรัพย์สิน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในกฎ ระเบียบจราจรในชีวิตประจำวันมากขึ้น
- ข้อที่ 2. เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมในการใช้รถใช้ถนนสาธารณะร่วมกัน และการสวมหมวกกันน็อค เมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์
- ข้อที่ 3. เพื่อลดการสูญเสียทั้งในด้านชีวิตและทรัพย์สินที่อาจเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุบนท้องถนน
- ข้อที่ 4. เพื่อให้ข้าราชการ พนักงาน และเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีแก่ประชาชน โดยสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ และให้ถือปฏิบัติอย่าง เคร่งครัด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
56
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในกฎระเบียบจราจร และการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
2.ผู้เข้ารับการอบรมมีจิตสำนึกและปฏิบัติตามกฎจราจรได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ลดการเกิดอุบัติเหตุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในกฎ ระเบียบจราจรในชีวิตประจำวันมากขึ้น
ตัวชี้วัด : 1.ลดการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน
0.00
2
ข้อที่ 2. เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมในการใช้รถใช้ถนนสาธารณะร่วมกัน และการสวมหมวกกันน็อค เมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์
ตัวชี้วัด :
0.00
3
ข้อที่ 3. เพื่อลดการสูญเสียทั้งในด้านชีวิตและทรัพย์สินที่อาจเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุบนท้องถนน
ตัวชี้วัด :
0.00
4
ข้อที่ 4. เพื่อให้ข้าราชการ พนักงาน และเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีแก่ประชาชน โดยสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ และให้ถือปฏิบัติอย่าง เคร่งครัด
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
56
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
56
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในกฎ ระเบียบจราจรในชีวิตประจำวันมากขึ้น (2) ข้อที่ 2. เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมในการใช้รถใช้ถนนสาธารณะร่วมกัน และการสวมหมวกกันน็อค เมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์ (3) ข้อที่ 3. เพื่อลดการสูญเสียทั้งในด้านชีวิตและทรัพย์สินที่อาจเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุบนท้องถนน (4) ข้อที่ 4. เพื่อให้ข้าราชการ พนักงาน และเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีแก่ประชาชน โดยสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ และให้ถือปฏิบัติอย่าง เคร่งครัด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจกัน ใส่หมวกกันน๊อค ประจำปี 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5202(2)-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ว่าที่ ร.ต.หญิงฐิติมา ศรีสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจกัน ใส่หมวกกันน๊อค ประจำปี 2564 ”
ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
ว่าที่ ร.ต.หญิงฐิติมา ศรีสุข
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5202(2)-1 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจกัน ใส่หมวกกันน๊อค ประจำปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจกัน ใส่หมวกกันน๊อค ประจำปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจกัน ใส่หมวกกันน๊อค ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5202(2)-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,560.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถิติอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2564 พบว่า สาเหตุหลักของอุบัติเหตุทางถนนยังคงเกิดจากการขับรถเร็ว และดื่มแล้วขับ รวมถึงผู้ใช้รถจักรยานยนต์เป็นยานพาหนะที่มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนนสูงสุด ซึ่งศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนได้ประสานจังหวัดบูรณาการสร้างความปลอดภัยทางถนนอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี ภายใต้กลไกของศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนทุกระดับ เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงอุบัติเหตุในเชิงลึกอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง รวมทั้งค้นหาปัญหาอุปสรรคและปัจจัยความสำเร็จในการลดอุบัติเหตุทางถนน เพื่อนำไปสู่การกำหนดมาตรการและแนวทางที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในแต่ละพื้นที่ นอกจากนี้ ได้เน้นย้ำให้ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนอำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมกับเจ้าหน้าที่ ภาคประชาชน จิตอาสา และอาสาสมัคร ขับเคลื่อนการลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนและหมู่บ้าน โดยเฉพาะการบังคับใช้กฎหมายจราจรอย่างเคร่งครัด เพื่อคุมเข้มพฤติกรรมเสี่ยงที่เป็นปัจจัยทำให้เกิดอุบัติเหตุรุนแรง คือ ดื่มแล้วขับ ขับรถเร็ว และการไม่ใช้อุปกรณ์นิรภัย ควบคู่กับการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างจริงจัง เพื่อสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในการใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย ตลอดจนปรับเปลี่ยนทัศนคติ ค่านิยม และสร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งจะเป็นรากฐานในการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนนอย่างยั่งยืนในสังคมไทย จาการวิเคราะห์ปัจจัยและสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุกับผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ ส่วนใหญ่มาจากการเสพสารเสพติดมึนเมา ความประมาท ความคึกคะนอง การไม่เคารพกฎจราจร และที่สำคัญคือ การไม่สวมหมวกกันน็อค ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างจิตสำนึกและเตรียมความพร้อมในด้านความปลอดภัยบนท้องถนนและวินัยในการจราจร ให้กับพนักงานส่วนตำบล พนักงานจ้าง ขององค์การบริหารส่วนตำบลประกอบทุกคน คณะผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักปลัด จึงได้จัดทำโครงการขับขี่ปลอดภัยร่วมใจใส่หมวกกันน็อค ประจำปี 2564 ขึ้น เพื่อลดการสูญเสียทั้งในด้านชีวิตและทรัพย์สิน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในกฎ ระเบียบจราจรในชีวิตประจำวันมากขึ้น
- ข้อที่ 2. เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมในการใช้รถใช้ถนนสาธารณะร่วมกัน และการสวมหมวกกันน็อค เมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์
- ข้อที่ 3. เพื่อลดการสูญเสียทั้งในด้านชีวิตและทรัพย์สินที่อาจเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุบนท้องถนน
- ข้อที่ 4. เพื่อให้ข้าราชการ พนักงาน และเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีแก่ประชาชน โดยสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ และให้ถือปฏิบัติอย่าง เคร่งครัด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 56 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในกฎระเบียบจราจร และการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน 2.ผู้เข้ารับการอบรมมีจิตสำนึกและปฏิบัติตามกฎจราจรได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ลดการเกิดอุบัติเหตุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในกฎ ระเบียบจราจรในชีวิตประจำวันมากขึ้น ตัวชี้วัด : 1.ลดการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน |
0.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2. เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมในการใช้รถใช้ถนนสาธารณะร่วมกัน และการสวมหมวกกันน็อค เมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3. เพื่อลดการสูญเสียทั้งในด้านชีวิตและทรัพย์สินที่อาจเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุบนท้องถนน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | ข้อที่ 4. เพื่อให้ข้าราชการ พนักงาน และเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีแก่ประชาชน โดยสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ และให้ถือปฏิบัติอย่าง เคร่งครัด ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 56 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 56 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในกฎ ระเบียบจราจรในชีวิตประจำวันมากขึ้น (2) ข้อที่ 2. เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมในการใช้รถใช้ถนนสาธารณะร่วมกัน และการสวมหมวกกันน็อค เมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์ (3) ข้อที่ 3. เพื่อลดการสูญเสียทั้งในด้านชีวิตและทรัพย์สินที่อาจเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุบนท้องถนน (4) ข้อที่ 4. เพื่อให้ข้าราชการ พนักงาน และเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีแก่ประชาชน โดยสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ และให้ถือปฏิบัติอย่าง เคร่งครัด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการขับขี่ปลอดภัย ร่วมใจกัน ใส่หมวกกันน๊อค ประจำปี 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5202(2)-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ว่าที่ ร.ต.หญิงฐิติมา ศรีสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......