กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการลดความเสี่ยงและห่างไกลโรคจากการประกอบอาชีพ
รหัสโครงการ 64 - L1512 - 2 - 06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.ตำบลคลองปาง
วันที่อนุมัติ 9 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 15 กันยายน 2564
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกัลยาภัสร์ ทองแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.987,99.645place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการบริโภคอาหารและการประกอบอาชีพเกษตรกร

ร้อยละของประชาชนที่ประกอบอาชีพเสี่ยง

40.00
2 2. เพื่อประเมินและเฝ้าระวังปัญสุขภาพของผู้ที่มีภาวะเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

 

40.00
3 3. เพื่อตรวจระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลปัญหาสุขภาพ

ร้อยละของเกษตรกรที่มีสารเคมีตกค้างในเลือด

40.00
4 4. เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตัวเอง

ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง

40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เสนอโครงการขอสนับสนุนงบประมาณ
  2. จัดประชุมชี้แจงคณะทำงาน และแกนนำ
  3. ลงพื้นที่คัดกรองประเมินภาวะสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง
  4. จัดทำสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวสำหรับเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง
  5. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวในกลุ่มเสี่ยง
  6. ติดตามเฝ้าระวังเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่มีสารตกค้าง ึ. ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ทำให้ทราบถึงสถานการณ์การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกระแสเลือด
  2. ผู้บริโภค/เกษตรกรมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารปลอดสารพิษในครัวเรือน
  3. ทำให้ได้ข้อมูลมาใช้ในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การเฝ้าระวังและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพของเกษตรกร
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 มี.ค. 2564 15:22 น.