โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ชื่อโครงการ | โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ |
รหัสโครงการ | 60 - PKL - 04 - 07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | สำนักงานเลขาฯกองทุน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อบต.ปากล่อ |
วันที่อนุมัติ | 17 มีนาคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 20,800.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายวิโรจน์จงอุรุดี |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายรัชพร พูลสมบัติ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.62,101.187place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 16 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
องค์การบริหารส่วนตำบลปากล่อร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช) ได้จัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปากล่อ เมื่อปี 2551 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนจัดบริการสาธารณสุขในการเสริมสร้างสุขภาพป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพให้กับประชุาชนทุกคน และส่งเสริมให้กลุ่มที่ควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น แม่และเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มผู้ประกอบการอาชีพเสี่ยงและผู้ป่วยเรื้อรังและประชาชนในท้องถิ่นสามารถเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึงตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นและตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2557 ลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2557 การดำเนินงานของกองุทนในะดับท้องถิ่นจะต้องมีคุณะกรรมการชุดหนึ่งเรียกว่าคณะกรรมการบริหารหลักประกันสุขภาพ โดยองค์ประกอบของคณะกรรมการมาจากหลากหลายภาคส่วนตามประกาศคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจะต้องมีกรรมการ เพื่อทำหน้าที่ในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน ภายใต้การกำกับดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบลปากล่อ ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของคณะกรรมการกองทุนเป็นไปด้วยความเรียบร้อยมีประสิทธิภาพและบรรลุผลสำเร็จตามที่กำหนดไว้ได้จัดทำโครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ประจำปี 2560 ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปากล่อ สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพคุณภาพ ภายใต้ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ผลการพิจารณาโครงการ |
||
2 |
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
4 ต.ค. 59 - 4 ก.ย. 60 | ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพครั้งที่ 1 อบต.ปากล่อ | 16 | 5,200.00 | ✔ | 5,200.00 | |
16 ก.พ. 60 - 16 ก.ย. 60 | ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 2/60 | 16 | 5,200.00 | ✔ | 5,200.00 | |
17 มี.ค. 60 - 17 ก.ย. 60 | ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯครั้งที่ 3/60 | 16 | 5,200.00 | ✔ | 5,200.00 | |
25 ก.ย. 60 | ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯครั้งที่ 4/60 | 16 | 5,200.00 | ✔ | 4,875.00 | |
รวม | 64 | 20,800.00 | 4 | 20,475.00 |
- ขันตอนการงานแผน ร่วมประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ
- ขั้นตอนการดำเนินงาน ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม- ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จัดเตรียมสาถนที่ในการประชุม
- ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด - จัดประชุมคณะกรรมการ 4 ครั้งต่อปี
1.แผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกอนทุนฯ 2.การรับเงิน การจ่่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณุะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2559 12:14 น.