กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการกินดีมีสุข ”
ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
ส.ต.อ.หญิง เหมือนฝัน หน่อแก้ว




ชื่อโครงการ โครงการกินดีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5202-(2)-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกินดีมีสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกินดีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกินดีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5202-(2)-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กวัยเรียนเป็นวัยแห่งการเตรียมพร้อมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ถ้าเด็กได้รับสิ่งแวดล้อมที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด้กทุกๆด้าน เด็กก็จะสามารถปรับตัวให้เข้ากับประสบการณ์ใหม่หรือสิ่งแวดล้อมได้อย่างราบรื่น ในขณะเดียวกันเด็กวัยเรียนยังเป็นช่วงวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงหลายด้านทั้งทางร่างกาย อารมณ์และสังคม การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวล้วนมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กอย่างมาก จึงพบว่าเด็กช่วงวัยนี้มีปัยหาทั้งการขาดสารอาหารและภาวะโภชนการเกิน ปัยหาดังกล่าวจะทำให้เด็กเจริญเติบโตช้า เจ็บป่วยบ่อย ความสามารถในกาเรียนรู้ด้อย ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนต่ำ และสมรรถภาพในการทำกิจกรรมและการเล่นกีฬาต่ำ ในขณะเดียวกันปัญหาโภชาการก็ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ ดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนได้กินอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ และพักผ่อนอย่างเพียงพอ ทางโรงเรียน ตชด.บ้านประกอบออก ได้ประกอบอาหารเลี้ยงนักเรียนในม้อเช้าและมื้อกลางวัน โดยมีสารอาหารครบ 5 หมู่ เพียงพอต่อปริมาณนักเรียนในแต่ละวัน ในห้วงระยะเวลาที่ผ่านมาพบว่ามีนักเรียนที่ป่วยด้วยอาการปวดท้องมีจำนวนเพิ่มขึ้น จากการสอบถามทราบว่า ในม้อเย็น ที่นักเรียนรับประทานอาหารที่บ้าน ส่วนใหญ่จะทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เช่น น้ำอัดลม บะหมมี่กึ่งสำเร็จรูป ลูกชิ้น ยำชนิดต่างๆ เป็นต้น ซึ่งเป็นผลให้นักเรียนมีอาการปวดท้อง ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเรียนรู้และการเจริญเติบโตของร่างกาย เป็นผลมาจากผู้ปกครองไม่มีเวลาในการจัดหาอาหาร ไม่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ ซึ่งส่งผลให้นักเรียนเจริญเติบโตไม่สมวัย   ดังนั้น โรงเรียน ตชด.บ้านประกอบออก ได้เล็งเห็นความสำคัยของการรับประทานอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้นักเรียน ตชด.บ้านประกอบออก ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา มีความพร้อมในการเรียนรู้และมีมีร่างกายเจริญสมวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียน ตชด.บ้านประกอบออก เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ ได้
  2. 1. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียน ตชด.บ้านประกอบออก เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ ได้
  3. 2. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 170
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • นักเรียนในโรงเรียน ตชด.บ้านประกอบออก เลือกรับประทานอาหารได้ถูกต้อง
  • นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจอาหารและโภชนาการ
  • นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ

วันที่ 27 มกราคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

วิทยากรให้ความรู้ หัวข้อ - โภชนาการ คืออะไร - มารู้จักธงโภชนาการ - อาหาร 5 หมู่ คืออะไร - การบริโภคอาหารอย่างเป็นสัดส่วน - ผลกระทบของภาวะขาดสารอาหาร - เกมเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการทำโครงการกินดีมีสุข ของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านประกอบออก ได้ให้ความรู้เรื่องโภชนาการ ธงโภชนาการ อาหาร 5 หมู่ การบริโภคอาหารอย่างเป็นสัดส่วน ผลกระทบของภาวะขาดสารอาหาร และการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ แก่นักเรียนและผู้ปกครองนั้น พบว่า ผู้ปกครอง นักเรียน มีความสใจ ให้ความร่วมมือไปในทิศทางที่ดี ตั้งใจเรียนรู้ ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์มากขึ้น เนื่องจากการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ เป็นประจำจะช่วยให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันที่แข็งแรง ป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคต่างๆ ส่งผลให้ร่างกายเจริญเติบฌตสมวัย และพร้อมสำหรับการเรียนรู้ ซึ่งผลจากการทำโครงการนี้ ทำให้ผู้ปกครองและนักเรียนให้ความสำคัญกับการเลือกรับประทานอาหารมากขึ้น นักเรียนส่วนใหญ่เลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ อาการปวดท้องลดลงทำให้มีสามธิในการเพิ่มมากขึ้น

 

181 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียน ตชด.บ้านประกอบออก เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ ได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 เลือกรับประทานอาหารได้ถุกต้อง ลดอาการป่วยสาเหตุจากอาหาร
80.00

 

2 1. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียน ตชด.บ้านประกอบออก เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ ได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 เลือกรับประทานอาหารได้ถุกต้อง ลดอาการป่วยสาเหตุจากอาหาร
80.00

 

3 2. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนและผู้ปกครองร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 170
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียน ตชด.บ้านประกอบออก เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ ได้ (2) 1. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียน ตชด.บ้านประกอบออก เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ ได้ (3) 2. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. ในหมู่บ้านมีการจำหน่ายอาหารที่ไม่มีประโยชน์ นักเรียนสามารถหาซื้อได้ง่าย
  2. ผู้ปกครองส่วนหนึ่งไม่มีเวลาในการดูแลการรับประทานอาหารของนักเรียน เนื่องจากต้องทำงานกลับบ้านไม่เป็นเวลา

 

 


โครงการกินดีมีสุข จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5202-(2)-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ส.ต.อ.หญิง เหมือนฝัน หน่อแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด