กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง


“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพเด็กกำพร้าและด้อยโอกาส เพื่อป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ ”

ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีฮัน มูนิ๊

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพเด็กกำพร้าและด้อยโอกาส เพื่อป้องกันโรคระบาดในพื้นที่

ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L8286-01-2 เลขที่ข้อตกลง 03/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 พฤษภาคม 2564 ถึง 5 พฤษภาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพเด็กกำพร้าและด้อยโอกาส เพื่อป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพเด็กกำพร้าและด้อยโอกาส เพื่อป้องกันโรคระบาดในพื้นที่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพเด็กกำพร้าและด้อยโอกาส เพื่อป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L8286-01-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 พฤษภาคม 2564 - 5 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านั้น คือ การสร้างหลักประกันให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพได้ตามความจำเป็น โดยถือ “สิทธิ” ถือเป็นขั้นพื้นฐานของประชาชน การสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชนนั้น เป็นกระบวนการที่สำคัญกระบวนการหนึ่งในการพัฒนาที่มุ่งเน้นให้คนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งภาครัฐได้ดำเนินการทุกวิถีทางที่จะหาแนวทางที่เหมาะสมมากำหนดนโยบายและกลวิธีการพัฒนา และในปัจจุบัน กระบวนการพัฒนางานด้านสุขภาพได้ให้ความสำคัญกับแนวคิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสังคมและชุมชนแบบองค์รวม ทั้งทางด้านกาย จิตใจ และสังคม รวมทั้งการพัฒนาทางด้านปัญญาและจิตวิญญาณ โดยได้กำหนดเป็นวาระแห่งชาติ “คนไทยแข็งแรง เมืองไทยเข้มแข็ง” ซึ่งครอบคลุมการพัฒนาทั้ง ๔ มิติ ด้วยแนวคิดของการใช้พื้นที่เป็นฐานเพื่อการ บูรณาการทุกภาคส่วน ใช้การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้บนพื้นฐานของสังคมและวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่น โดยยึดหลักของการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นหัวใจสำคัญ เพื่อให้ชุมชนเกิดการพัฒนาจนสามารถพึ่งตนเองแบบยั่งยืนต่อไป จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ที่กำลังเพิ่มการแพร่ระบาดเป็นทวีคูณในระลอกสอง ทำให้เกิดผลกระทบด้านสุขภาพกาย จิตและเศรษฐกิจในระดับประเทศและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลยะรัง โดยกลุ่มคนที่มีอาชีพทำงานนอกพื้นที่ เช่น ต่างจังหวัด ประเทศมาเลเซีย ไม่สามารถทำงานหรารายได้ในครอบครัว ทำให้เกิดปัญหาการตกงานตามมา บางคนเป็นเสาหลักที่ต้องดูแลค่าใช้จ่ายในครอบครัว หนึ่งในจำนวนนี้คือ ปัญหาเด็กกำพร้าและเด็กด้อยโอกาส มีเด็กกำพร้า ที่พ่อหรือแม่ หรือพ่อและแม่เสียชีวิต รวมทั้งเด็กที่ถูกทอดทิ้งหรือเด็กที่ด้อยโอกาสที่เกิดจากครอบครัวที่แตกแยกหรือครอบครัวหย่าร้างซึ่งเด็กเหล่านี้หากปล่อยทิ้งไว้โดยไม่ได้รับการดูแลหรือการเอาใจใส่จากสังคมแล้ว อาจจะมีภาวะเสี่ยงต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านสติปัญญาปัญหาสุขภาพและปัญหาทางสังคมในอนาคตต่อไปได้
ในเทศบาลตำบลยะรัง ปี ๒๕๕9 มีเด็กด้อยโอกาส ทั้งหมด 75 คน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่สังคมส่วนรวมต้องร่วมกันใส่ใจ ให้ไออุ่น เติมความฝัน แบ่งปันความรัก เพื่อเป็นการลดช่องว่างทางสังคม เป็นการแก้ปัญหา และกระตุ้นให้เด็กกำพร้าและผู้ด้อยโอกาส ตระหนักถึงความสำคัญของการต่อสู้อยู่ในสังคมโดยปราศจากพ่อ-แม่ได้ด้วยการได้รับความรัก ความอบอุ่น ความเป็นห่วงเป็นใยจากสังคมรอบข้างเป็นสำคัญ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลยะรังร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลยะรัง จึงมองเห็นปัญหาดังกล่าว และเพื่อเป็นการติดตาม และให้กำลังใจแก่เด็กกำพร้าและผู้ด้อยโอกาส ตลอดจนเป็นที่ปรึกษาในการให้เป็นเด็กสุขภาพดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ พร้อมจะเติบโตเป็นคนดีมีคุณภาพในสังคมไทยในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพกาย จิตที่ดี ให้แก่เด็กกำพร้าและด้อยโอกาส ห่างไกลจากโรคต่างๆ
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็กกำพร้าและด้อยโอกาสมีความรู้ เจตคติ และการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อ
  2. จัดป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. ค่าวัสดุอุปกรณ์เพื่อดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.เด็กกำพร้าและด้อยโอกาสมีความรู้ ในการดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่ ได้อย่างปลอดภัย ๒.เด็กกำพร้าและด้อยโอกาสสามารถดูแลตนเองได้ ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ๕.สร้างสัมพันธภาพที่ดี ระหว่างประชาชน ชุมชน และหน่วยงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๖.กลุ่มเป้าหมายได้รับความพึงพอใจในโครงการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพกาย จิตที่ดี ให้แก่เด็กกำพร้าและด้อยโอกาส ห่างไกลจากโรคต่างๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 สุขภาพเด็กกำพร้ามีสุขภาพกาย จิตที่ดี ห่างไกลโรคระบาด
80.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็กกำพร้าและด้อยโอกาสมีความรู้ เจตคติ และการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของเด็กกำพร้าและด้อยโอกาสมีความรู้ เจตคิ แลการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพกาย จิตที่ดี ให้แก่เด็กกำพร้าและด้อยโอกาส ห่างไกลจากโรคต่างๆ (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้เด็กกำพร้าและด้อยโอกาสมีความรู้ เจตคติ และการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อ (2) จัดป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ (3) ค่าวัสดุอุปกรณ์เพื่อดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพเด็กกำพร้าและด้อยโอกาส เพื่อป้องกันโรคระบาดในพื้นที่ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L8286-01-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรีฮัน มูนิ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด