กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง


“ โครงการพัฒนาทักษะกระตุ้นพัฒนาการ ดูแลฟันสวย ส่งเสริมโภชนาการดี ”

ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางเสาเด๊าะ ดอสามะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาทักษะกระตุ้นพัฒนาการ ดูแลฟันสวย ส่งเสริมโภชนาการดี

ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 026/2564 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาทักษะกระตุ้นพัฒนาการ ดูแลฟันสวย ส่งเสริมโภชนาการดี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาทักษะกระตุ้นพัฒนาการ ดูแลฟันสวย ส่งเสริมโภชนาการดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาทักษะกระตุ้นพัฒนาการ ดูแลฟันสวย ส่งเสริมโภชนาการดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 026/2564 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนการ พัฒนาการในเด็กช่วงอายุ 0-5 ปี เป็นช่วงที่มีอัตราของการพัฒนาสูง ด้วยเหตุนี้ พ่อแม่ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก ต้องมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญให้มากจึงจะช่วยส่งเสริมให้เด็กได้รับการพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพจาการติดตามประเมินโภชนาการและพัฒนาการ อ.กาบัง จ.ยะลา ซึ่งเป็นพื้นที่รับผิดชอบของอำเภอกาบังนั้น พบว่า เด็กในช่วงอายุ 0-5 ปี มีภาวะ ทุพโภชนาการ และพัฒนาการสมวัยอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ดังนี้ ภาวะโภชนาการ ปี 2561-2563สูงดีสมส่วน 55.59 % 43.54 % และ 40.52 ตามลำดับ เด็กมีภาวะผอม 8.00% ,9.81 % ,10.68 %ตามลำดับ และเด็กมีภาวะเตี้ย มีแนวโน้มสูง 9.6%21.0%27.69%
ความครอบคลุมของการตรวจคัดกรองปี2561-2562ดังนี้ 50.27% , 59.73% และ 75.65% ตามลำดับ พัฒนาการสมวัยปี2561, 2562,256374.81% ,86.2% ,89.62% ตามลำดับ เด็กที่ฟันผุ ส่งผลต่อภาวะโภชนาการไม่ดี และส่งผลต่อการพัฒนาพัฒนาการและสติปัญญาของเด็ก
จากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่าประชาชนยังไม่เห็นความสำคัญของการดูแลโภชนาการและพัฒนาการไม่มีความรู้ในการปรับอาหารให้เหมาะกับภาวะสุขภาพของบุตรหลาน ประกอบกับผู้ปกครองขาดการสนใจด้านการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก พบว่าเด็กส่วนใหญ่มีปัญหาฟันผุ ซึงเป็นสาเหตุรบกวนการกินอาหาร จากการสอบถามผู้ปกครองพบว่าอาหารมื้อเช้า มีเพียงร้อยละ 20 ที่ผู้ปกครองทำกับข้าวเอง อีกร้อยละ 80ซื้อกินที่ร้านอาหาร ซึงมักเป็น ขนมขบเคี้ยว ไส้กรอก ฯลฯ ซึ่งเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการน้อยและมีผงชูรสมาก ส่งผลให้เด็กมีภาวะ ทุพโภชนาการได้ง่าย จะเห็นว่าผู้ปกครองพาเด็กมาตรวจตามนัดเพียงร้อยละ 27 ซึ่งค่อนข้องน้อยมาก ทำให้การดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการ และพัฒนาการในเด็กมีผลลัพธ์ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานจึงเห็นว่าการพัฒนาพัฒนาความรู้ให้แก่ ผู้ปกครอง เป็นจุดเริ่มต้นที่จะกระตุ้น่ให้ผู้ปกครองหันมาสนใจบุตรหลานด้านโภชนาการ สุขภาพช่องปาก และพัฒนาการ มากขึ้นจะเป็นการปูพื้นฐานและสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองสามารนำไปส่งเสริมให้บุตรมีภาวะโภชนาการและพัฒนาการที่ภาวะโภชนาการ ดัชนีบ่งชี้ภาวะสุขภาพโดยรวมของเด็ก และ เป็นต้นทุนสำคัญ สำหรับการพัฒนาเด็กให้เติบโตเต็มศักยภาพ มีสุขภาพดีและมีเชาวน์ปัญญาที่พร้อมจะเรียนรู้ ฝึกฝนทักษะ และสั่งสมประสบการณ์ เพื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ (ลัดดาเหมาะสุวรรณ, 2555) เด็กจำ เป็นต้องได้รับสารอาหารในปริมาณที่พอเพียงความต้องการสารอาหารของเด็กแต่ละคนในช่วงนี้จะไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับอัตราการเจริญเติบโตของเด็กแต่ละคน หากเด็กได้รับโภชนาการหรือ สารอาหารต่าง ๆ ไม่เพียงพอ จะส่งผลให้การเจริญเติบโตช้า กล้ามเนื้อไม่แข็งแรง ภูมิต้านทานต่ำเกิดภาวะโลหิตจาง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี/ผู้เลี้ยงดู /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  2. 2.ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี/ผู้เลี้ยงดู /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องอาหารตามวัย,การกระตุ้นพัฒนาการตามช่วงวัยและการดูแลสุขภาพฟันในเด็ก 0-5 ปี เพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดนิทรรศการอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมาย/ผู้เลี้ยงดูเด็ก อสม. หรือผู้สนใจ /ครู ศพด. ตามซุ้มที่กำหนด
  2. ประเมินความรู้จาก Pre test / post test แต่ละซุ้ม
  3. ประกวดเด็กโภชนาการดีสูงดีสมส่วน ฟันดีฟันสวย พัฒนาการสมวัย เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองตื่นตัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองเด็ก 0-5ปี /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับลูกหลาน/นักเรียน โดยเลือกใช้วัตถุดิบที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น
  2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถพัฒนาทักษะการกระตุ้นพัฒนาการเหมาะสมตามช่วงวัย
  3. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถพัฒนาทักษะการกระตุ้นการดูแลสุขภาพฟันในเด็กได้เหมาะสมตามช่วงวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี/ผู้เลี้ยงดู /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับลูกหลาน/นักเรียน โดยเลือกใช้วัตถุดิบที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น
50.00 60.00

 

2 2.ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี/ผู้เลี้ยงดู /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องอาหารตามวัย,การกระตุ้นพัฒนาการตามช่วงวัยและการดูแลสุขภาพฟันในเด็ก 0-5 ปี เพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 5
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และสามารถพัฒนาทักษะการกระตุ้นพัฒนาการเหมาะสมตามช่วงวัย การดูแลสุขภาพฟันในเด็กได้เหมาะสมตามช่วงวัย และมีความรู้เรื่องอาหารตามวัย
50.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี/ผู้เลี้ยงดู /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (2) 2.ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี/ผู้เลี้ยงดู /ผู้สนใจ/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เรื่องอาหารตามวัย,การกระตุ้นพัฒนาการตามช่วงวัยและการดูแลสุขภาพฟันในเด็ก 0-5 ปี เพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดนิทรรศการอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมาย/ผู้เลี้ยงดูเด็ก อสม.  หรือผู้สนใจ /ครู ศพด. ตามซุ้มที่กำหนด (2) ประเมินความรู้จาก Pre test / post test  แต่ละซุ้ม (3) ประกวดเด็กโภชนาการดีสูงดีสมส่วน ฟันดีฟันสวย พัฒนาการสมวัย เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองตื่นตัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาทักษะกระตุ้นพัฒนาการ ดูแลฟันสวย ส่งเสริมโภชนาการดี จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 026/2564

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเสาเด๊าะ ดอสามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด