กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ Stop Teen Mom (ป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น) ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายนัจมีย์ บาโละ




ชื่อโครงการ โครงการ Stop Teen Mom (ป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น)

ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4141-02-07 เลขที่ข้อตกลง 012/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ Stop Teen Mom (ป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ Stop Teen Mom (ป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ Stop Teen Mom (ป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4141-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อม หรือ การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ หมายถึง วัยรุ่นที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี ตั้งครรภ์  ทั้งโดยตั้งใจหรือไม่ได้ตั้งใจ แต่มีความไม่พร้อมที่จะตั้งครรภ์นั้นต่อไปด้วยเหตุผลต่างๆ เช่น คุมกำเนิดแล้วแต่เกิดความผิดพลาด ยังเรียนหนังสือไม่จบ อายุน้อยเกินกว่าจะเป็นแม่ ไม่ได้มีการวางแผนจะมีลูก ไม่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคุมกำเนิด ถูกข่มขืนจนตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ก่อนการสมรส การไม่รับผิดชอบของบิดาเด็กในครรภ์ ตลอดจนความไม่พร้อมในด้านต่างๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ แม่วัยรุ่นยังขาดวุฒิภาวะในการดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์ ส่งผลให้เกิดปัญหาต่อการตั้งครรภ์และการคลอด เช่น การคลอดก่อนกำหนด การคลอดทารกน้ำหนักตัวน้อยและการตายคลอด หากปล่อยให้ปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นโดยไม่มีมาตรการควบคุมป้องกัน ย่อมส่งผลเสียต่อสังคมในระยะยาวยากที่จะแก้ไข ท้องในวัยรุ่นในประเทศไทยมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น จากร้อยละ 10 ในปี  พ.ศ. 2558 เป็นกว่าร้อยละ 20 ในปัจจุบัน นอกจากนั้นอายุของคุณแม่วัยรุ่นนับวันยิ่งน้อยลง ต่ำสุดพบเพียง 12 ปี
    การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ป้องกันได้ แต่วัยรุ่นจำนวนมากยังเข้าไม่ถึงข้อมูลและบริการด้านเพศ ทำให้วัยรุ่นขาดความรู้และทักษะการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง ไม่ได้รับการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างต่อเนื่อง      ขาดความเข้าใจเรื่องการคุมกำเนิดอย่างถูกวิธีไม่สามารถควบคุมอารมณ์หรือตนเองเมื่ออยู่กับเพศตรงข้ามถูกกระตุ้นอารมณ์เพศจากสื่อทางลบ และใช้สารเสพติด รวมทั้งการเข้าไม่ถึงบริการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยเสริมต่อพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นที่สถานการณ์และแนวโน้มขณะนี้ น่าเป็นห่วงซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาอันอาจจะเกิดขึ้นกับวัยรุ่นไทยในอนาคต
    สภาเด็กและเยาวชนตำบลลำใหม่ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำ “โครงการ Stop Teen Mom (ป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น)” ขึ้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างค่านิยมใหม่กับวัยรุ่นไทยให้รู้จักรัก และเห็นคุณค่าของตัวเอง เป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นให้ลดน้อยลงหรือหมดสิ้นไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิงในสังคม พัฒนาการทางเพศ และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อหน้าที่ความรับผิดชอบ
  2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทักษะ ภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
  3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง และสร้างความภูมิใจในตนเอง และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนมีองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิงในสังคม พัฒนาการทางเพศ และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อหน้าที่ความรับผิดชอบ
  2. เด็กและเยาวชนมีทักษะ ภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
  3. เด็กและเยาวชนมีความภาคภูมิใจในตนเองและมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 7 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 7 กรกฎาคม 2565 สภาเด็กและเยาวชนตำบลลำใหม่ ได้ดำเนินการโครงการ Stop Teen Mom (ป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น) มีกลุ่มเป้าหมายเป็น เด็กนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนพัฒนาอิสลามวิทยา จำนวน 40 คน มีกิจกรรม ดังนี้

ช่วงเช้า 09.00-12.00 น.

-กิจกรรมละลายพฤติกรรมเพื่อสร้างความคุ้นเคยให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

-กิจกรรมแลเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสถานการณ์การตั้งครรภ์ และคลอดบุตรก่อนวัยอันควรในประเทศไทย

-เรื่องบทบาททางเพศที่แตกต่างกันระหว่างชายหญิง

ช่วงบ่าย เวลา 13.00-15.00 น.

-เรื่องสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ

-เรื่องการป้องกันตนเองจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ

-ตอบข้อซักถาม

-สรุปและประเมินผลกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิงในสังคม พัฒนาการทางเพศ และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อหน้าที่ความรับผิดชอบ
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะ ภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความภาคภูมิใจในตนเองและมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิงในสังคม พัฒนาการทางเพศ และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อหน้าที่ความรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมายมีองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิงในสังคม พัฒนาการทางเพศ และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อหน้าที่ความรับผิดชอบ
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทักษะ ภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีทักษะ ภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
0.00

 

3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง และสร้างความภูมิใจในตนเอง และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีความภูมิใจในตนเอง และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิงในสังคม พัฒนาการทางเพศ และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อหน้าที่ความรับผิดชอบ (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทักษะ ภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง และสร้างความภูมิใจในตนเอง และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ Stop Teen Mom (ป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น) จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4141-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนัจมีย์ บาโละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด