กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย


“ โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อชีวีมีสุขปี 2564 ”

ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเรวดี ศรีผล

ชื่อโครงการ โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อชีวีมีสุขปี 2564

ที่อยู่ ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2014/64 เลขที่ข้อตกลง 14/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อชีวีมีสุขปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อชีวีมีสุขปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อชีวีมีสุขปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2014/64 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,590.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาการสูบบุหรี่ในประเทศไทยทวีความรุนแรง โดยเฉพาะอายุของนักสูบหน้าใหม่ที่ลดน้อยลงและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นซึ่งการสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมอย่างกว้างขวางและเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวันอันควรทำให้รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในกาดูแลรักษาเป็นจำนวนมากจากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2557 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ประเทศไทยมีผู้สูบบุหรี่จำนวน11.4ล้านคนอัตราการสูบบุหรี่ในประชากรอายุ 35ปีขึ้นไปร้อยละ 20.7 ต่อประชากร พันคนอยู่ในกลุ่มอายุ 25-59 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยทำงานมากที่สุดร้อยละ 23.5 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไปร้อยละ 16.6และกลุ่มอายุ 15-24 ปีร้อยละ 14.7ตามลำดับเป็นผู้ชายร้อยละ 40.5 และ ผู้หญิงร้อยละ 2.2โดยสูบบุหรี่จากโรงงานอย่างเดียวมากที่สุด 5.3ล้านคน รองลงมาคือบุหรี่มวนเอง 4.2 ล้านคนและทั้งบุหรี่ม้วนเอง 1.9 ล้านคนและมีคนไทยได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้านร้อยละ 28.1มีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นราว 2-3 แสนคนต่อปีคนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละประมาณ 52,000 คน เฉลี่ยวันละ 142คนชั่วโมงละ 6 คนและเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากบุหรี่ร้อยละ 12 ของการตายทั้งหมดผู้ที่สูบบุหรี่มีโอกาสตายด้วยโรคมะเร็งมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ 20 เท่า ที่สำคัญ 1 ใน 4 เป็นเด็กเล็กที่ตายเพราะได้รับควันบุหรี่มือสองหากการควบคุมการบริโภคยาสูบไม่เข้มแข็งจะมีการตายด้วยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ถึง 8ล้านคนใน 20 ปีข้างหน้า ซึ่งทางกระทรวงสาธารณสุขได้ตั้งเป้าหมายไว้ว่าภายระยะเวลา 3 ปี (ปี 2560-2562)จะดำเนินการเพื่อลดอัตราจำนวนประชากรผู้สูบบุหรี่ที่มีอายุ 15ปีขึ้นไป จากปัจจุบันร้อยละ 19.9 ให้เหลือร้อยละ 16.7และลดอัตราการรับควันบุหรี่มือสองให้เหลือร้อยละ 25 ซึ่งปัญหาเหล่านี้ นี้เราจะใช้เจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถกระทำได้จึงต้องสร้างความตระหนักให้ชุมชน โรงเรียน ได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ รวมถึงป้องกันช่วยลดจำนวนนักสูบหน้าใหม่ให้ห่างไกลจากการสูบบุหรี่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจจะได้เกิดความตระหนักถึงโทษของภัยบุหรี่
  2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นกลุ่มเสี่ยงไม่เป็นผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่
  3. เพื่อสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมให้เกิดการละ ละ เลิก การสูบบุหรี่เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองและผู้ที่ อยู่ใกล้เคียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรม พัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับโทษพิษภัยของบุหรี่/โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่/กลยุทธ์ในการเลิกบุหรี่/การเข้าระบบบำบัดเพื่อเลิกบุหรี่ให้แก่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 58
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สูบบุหรี่รายใหม่มีจำนวนลดลงร้อยละ 10ต่อปี 2. ผู้เข้าร่วมการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ โทษพิษของบุหรี่และสารเสพติดเพิ่มขึ้นร้อยละ 100 3. ผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงในการสูบบุหรี่ สามารถเลิกบุหรี่ได้และเป็นบุคคลต้นแบบในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจจะได้เกิดความตระหนักถึงโทษของภัยบุหรี่
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายอายุ 15 ปีขึ้นไปมีความรู้ ความเข้าใจ โทษพิษภัยของบุหรี่ และสารเสพติดเพิ่มขึ้นร้อยละ 100
158.00 50.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นกลุ่มเสี่ยงไม่เป็นผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่เป็นนักสูบรายใหม่ มีจำนวนลดลงร้อยละ 10 ต่อปี
158.00 30.00

 

3 เพื่อสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมให้เกิดการละ ละ เลิก การสูบบุหรี่เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองและผู้ที่ อยู่ใกล้เคียง
ตัวชี้วัด : ผู้เสพที่เข้าสู่ระบบบำบัดเลิกเสพได้สำเร็จอย่างต่อเนื่องในช่วง 6 เดือนร้อยละ 10 ต่อปี สามารถเป็นบุคคลต้นแบบในชุมชนได้
158.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 158
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 58
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจจะได้เกิดความตระหนักถึงโทษของภัยบุหรี่ (2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นกลุ่มเสี่ยงไม่เป็นผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่ (3) เพื่อสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมให้เกิดการละ ละ เลิก การสูบบุหรี่เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองและผู้ที่ อยู่ใกล้เคียง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรม พัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับโทษพิษภัยของบุหรี่/โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่/กลยุทธ์ในการเลิกบุหรี่/การเข้าระบบบำบัดเพื่อเลิกบุหรี่ให้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อชีวีมีสุขปี 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2014/64

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเรวดี ศรีผล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด