กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี


“ โครงการเสริมสร้างความรู้และการฝึกปฎิบัติด้านการแพทย์ฉุกเฉินตำบลเมาะมาวี ปี 60 ”

ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางลัดดา บูกา

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความรู้และการฝึกปฎิบัติด้านการแพทย์ฉุกเฉินตำบลเมาะมาวี ปี 60

ที่อยู่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3031-2-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างความรู้และการฝึกปฎิบัติด้านการแพทย์ฉุกเฉินตำบลเมาะมาวี ปี 60 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างความรู้และการฝึกปฎิบัติด้านการแพทย์ฉุกเฉินตำบลเมาะมาวี ปี 60



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างความรู้และการฝึกปฎิบัติด้านการแพทย์ฉุกเฉินตำบลเมาะมาวี ปี 60 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3031-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 71,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการเจ็บป่วยฉุกเฉินมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆทั้งจาก อุบัติเหตุและการเจ็บป่วยฉุกเฉินด้วยโรคอันตรายหรือโรคเรื้อรังเช่น โรคหัวใจ หลอดเลือดในสมอง เบาหวาน ที่อาจจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุอย่างทันท่วงที เพื่อนำส่งสถานพยาบาลอย่างรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ดังนั้นในแต่ละชุมชนหรือแม้แต่ในครัวเรือนชนมีความจำเป้นต้องมีผู้ที่มีความรู้ความสามารถที่จะให้ความช่วยเหลือด้านการแพทย์ฉุกเฉินได้ ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน คือ ระบบที่มีการเตรียมความพร้อมในด้านทรัพยากร และบุคลากรที่จะให้บริการรักาาพยาบาลทางการแพทย์แก่ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินทั้งนอกและในโรงพยาบาล การักษาในห้องฉุกเฉินของแต่ละโรงพยาบาลมักเป็นแนวตั้งรับ กล่าวคือ ให้การรักษาแก่ผู้ป่วยที่มีอาการและมาถึงโรงพยาบาลแล้ว แต่ในบางครั่งผู้ป่วยมีอาการเฉียบพลันนอกโรงพยาบาล ซึ่งถ้าให้การักษาตั้งแต่ที่บ้านหรือ ณ ที่เกิดเหตุก็ย่อมสามารถให้การช่วยชีวิต หรือการรักษาเบื้องต้นที่ดีได้ก่อนที่จะมีอาการลุกลามรุนแรงมากแล้วเมื่อมาถึงโรงพยาบาล เพื่อคุ้มครองบุคคลที่ประสบภาวะอันตรายต่อชีวิตและอยู่ในสถานการณ์วิกฤตที่มีความสำคัญต่อโอกาสการรอดชีวิต หรือการรักษาการทำงานของอวัยวะสำคัญต่อการมีชีวิตจากการไม่ได้รับการดูแลที่ได้มาตรฐานอย่างทันท่วงที โดยเฉพาะเมื่ออยู่ในสถานะที่ด้อยโอกาส ให้ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึงเท่าเทียมและมีประสิทธิภาพ อันจะนำไปสู่โอกาสการลดภาวะแทรกซ้อนและการรอดชีวิตที่สูงขึ้น โดยให้มีสิทธิการประกันและความสามารถในการจ่ายมาเป็นอุปสรรคในการได้รับการดูแล ประกอบพรบ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 และพรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 ได้กำหนดบทบาทและภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเรื่องการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงระบบการแพทย์ฉุกเฉินอย่างทั่วถึง เท่าเทียม มีคุณภาพมาตรฐาน โดยได้รับการช่วยเหลือและการช่วยเหลือและรักษาพยาบาลที่มีประสิทธิภาพและทันต่อเหตุการณ์มากขึ้น เท่าเทียม มีคุณภาพมาตรฐาน โดยได้รับการช่วยเหลือและรับการช่วยเหลือและรักษาพยาบาลที่มีประสิทธิภาพและทันต่อเหตุการณ์มากขึ้น ดังนั้นการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินทีมีประสิทธิภาพ จึงเป็นสิ่งที่สำคัญต่อภารกิจนี้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นสิ่งสำคัญต่อภารกิจนี้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) ในฐานะหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการประสานส่งเสริม สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่นท้องถิ่นสามารถดำเนินงานและบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามเจตนารมณ์ของพรบ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 มาตรา 33 วรรค 2 พรบ.ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีนโยาบายการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ และมอบหมายให้สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุขร่วมในการพัฒนาระบบพร้อมจัดทำมาตรฐานและครอบคลุมคุณภาพในการปฏิบัติงาน ซึ่งมีกำหนดจะเปิดให้บริการครบทุกจังหวัดภายในปีงบประมาณ 2548 ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขและอาสาสมัครพนักงานกู้ชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ เจตนติและทักาะในการช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินในทุกกรณีทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการปฏิบัติงานและสามารถปฏิบัติงานระดับปฐมภูมิในพื้นที่ได้ องค์การบริหารส่วนตำบลเมาะมาวี มีความประสงค์จะจัดตั้งบริการแพทย์ฉุกเฉินก่อนนำส่งโรงพยาบาล(หน่วยกู้ชีพ) "หน่วยกู้ชีพตำบลเมาะมาวี"ซึ่งเป็นหน่วยกู้ชีพที่ได้จัดตั้งขึ้นใหม่ พนักงานกู้ชีพ วัสดุ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์สนับสนุนการดำเนินงานต่างๆ เช่น รถหน่วยกู้ชีพ เครื่องแต่งการพนักงานกู้ชีพ วิทยุสื่อสาร มีความจำเป็นที่จะต้องได้รับการพัฒนาให้มีขีดความสามารถในการช่วยเหลือผู้เจ็บป่วย อุปกรณ์ในการปฏิบัติงานต้องมีความทันสมัย เพียงพอ และมีความพร้อมต่อการให้บริการประชาชน ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของหน่วยกู้ชีพและให้ความรู้แก่ประชาชนในการให้บริการประชาชน องค์การบริหารส่วนตำบลเมาะมาวี จึงได้จัดทำโครงการ "โครงการเสริมสร้างความรู้และการฝึกปฏิบัติด้านการแพทย์ฉุกเฉินตำบลเมาะมาวี" ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคุ้มครองบุคคลที่ประสบภาวะอันตรายต่อชีวิตและอยู่ในสถานการณ์วิกฤตที่มีความสำคัญต่อโอากสการรอดชีวิต หรือการรักษาการทำงานของอวัยวะสำคัญต่อการมีชีวิต
  2. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ระดับพื้นฐาน(FR)ให้แก่ผู้นำชุมชน และประชาชนเพื่อเป็นพนักงานกู้ชีพ
  3. เพื่อจัดตั้งศูนย์หาเครื่องแต่งกายให้แก่พนักงานกู้ชีพ
  4. เพื่อให้การดำเนินการช่วยเหลือการแพทย์ฉุกเฉินเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
  5. เพื่อคุ้มครองบุคคลที่ช่วยเหลือดูแลผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ปฏิบัติการฉุกเฉินอย่างสุจริตจากการถูกกล่าวหาว่าปฏิบัติโดยมิชอบ
  6. เพื่อคุ้มครองสังคมให้มีการใช้ทรัพยากร (บุคลากร หน่วยบริการ และเครื่องมือ)ของระบบร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.มีพนักงานกู้ชีพที่ให้บริการระดับปฐมภูมิ มีความรู้ เจตคติและทักษะตามหลักวิชาการ 2.เกิดความสามัคคีและความร่วมมือของบุคลากรในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินอย่างมั่นใจ 3.เพื่อส่งเสริมความมั่นใจให้กับผู้ปฏิบัติงาน 4.ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการช่วยเหลืออย่างปลอดภัยและมีประสิทธิผล


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อคุ้มครองบุคคลที่ประสบภาวะอันตรายต่อชีวิตและอยู่ในสถานการณ์วิกฤตที่มีความสำคัญต่อโอากสการรอดชีวิต หรือการรักษาการทำงานของอวัยวะสำคัญต่อการมีชีวิต
    ตัวชี้วัด : ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการช่วยเหลืออย่างปลอดภัยและมีประสิทธิผล

     

    2 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ระดับพื้นฐาน(FR)ให้แก่ผู้นำชุมชน และประชาชนเพื่อเป็นพนักงานกู้ชีพ
    ตัวชี้วัด : มีพนักงานกู้ชีพที่ให้บริการระดับปฐมภูมิ มีความรู้ เจตคติและทักษะตามหลักวิชาการ

     

    3 เพื่อจัดตั้งศูนย์หาเครื่องแต่งกายให้แก่พนักงานกู้ชีพ
    ตัวชี้วัด : ส่งเสริมความมั่นใจให้กับผู้ปฏิบัติงาน

     

    4 เพื่อให้การดำเนินการช่วยเหลือการแพทย์ฉุกเฉินเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
    ตัวชี้วัด : ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการช่วยเหลืออย่างปลอดภัยและมีประสิทธิผล

     

    5 เพื่อคุ้มครองบุคคลที่ช่วยเหลือดูแลผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ปฏิบัติการฉุกเฉินอย่างสุจริตจากการถูกกล่าวหาว่าปฏิบัติโดยมิชอบ
    ตัวชี้วัด : ส่งเสริมความมั่นใจให้กับผู้ปฏิบัติงาน

     

    6 เพื่อคุ้มครองสังคมให้มีการใช้ทรัพยากร (บุคลากร หน่วยบริการ และเครื่องมือ)ของระบบร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคุ้มครองบุคคลที่ประสบภาวะอันตรายต่อชีวิตและอยู่ในสถานการณ์วิกฤตที่มีความสำคัญต่อโอากสการรอดชีวิต หรือการรักษาการทำงานของอวัยวะสำคัญต่อการมีชีวิต (2) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ระดับพื้นฐาน(FR)ให้แก่ผู้นำชุมชน และประชาชนเพื่อเป็นพนักงานกู้ชีพ (3) เพื่อจัดตั้งศูนย์หาเครื่องแต่งกายให้แก่พนักงานกู้ชีพ (4) เพื่อให้การดำเนินการช่วยเหลือการแพทย์ฉุกเฉินเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด (5) เพื่อคุ้มครองบุคคลที่ช่วยเหลือดูแลผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ปฏิบัติการฉุกเฉินอย่างสุจริตจากการถูกกล่าวหาว่าปฏิบัติโดยมิชอบ (6) เพื่อคุ้มครองสังคมให้มีการใช้ทรัพยากร (บุคลากร หน่วยบริการ และเครื่องมือ)ของระบบร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเสริมสร้างความรู้และการฝึกปฎิบัติด้านการแพทย์ฉุกเฉินตำบลเมาะมาวี ปี 60 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3031-2-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางลัดดา บูกา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด