กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ


“ โครงการชุมชนห่วงใย ใสใจวัคซีนในเด็กอายุ 0 – 5 ปี ”

ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางมารียะห์ สะแต

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนห่วงใย ใสใจวัคซีนในเด็กอายุ 0 – 5 ปี

ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2514-1-10 เลขที่ข้อตกลง 10/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนห่วงใย ใสใจวัคซีนในเด็กอายุ 0 – 5 ปี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนห่วงใย ใสใจวัคซีนในเด็กอายุ 0 – 5 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนห่วงใย ใสใจวัคซีนในเด็กอายุ 0 – 5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2514-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค หรือการให้วัคซีน ทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกัน หรือความต้านทานเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรค หรือทำให้โรคมีความรุนแรงน้อยลง วัคซีนทำหน้าที่เสมือนเป็นสิ่งกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันไว้เป็นเครื่องป้องกันให้ร่างกายต่อสู้กับเชื้อโรคบางชนิดได้ ไม่ว่าจะเป็นเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย การให้วัคซีนเป็นวิธีการหนึ่งในการสร้างเสริมสุขภาพให้แข็งแรง ซึ่งมีความคุ้มค่ากว่าการให้การรักษาโรคเมื่อมีการติดเชื้อหรือเป็นโรคแล้ว ปัจจุบันการให้วัคซีนในเด็ก 0-5 ปี สามารถป้องกันโรคต่างๆ เช่น โรควัณโรค โรคตับอักเสบบีโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก โปลิโอ โรคหัด และไข้สมองอักเสบ หากไม่ได้รับวัคซีนจะทำให้เกิดผลกระทบต่อตนเองในเรื่องความเสี่ยงของการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ส่วนผู้ปกครองเด็กก็จะมีผลกระทบในเรื่องรายได้ที่ต้องสูญเสียไปจากการที่ไม่สามารถประกอบอาชีพเมื่อต้องดูแลบุตรที่เข้ารับการรักษาด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในโรงพยาบาล รวมถึงงบประมาณของสถานบริการสาธารณสุขในส่วนของยา และเวชภัณฑ์ที่ต้องใช้ไปในการดูแลรักษาผู้ป่วยแต่ละคนที่เพิ่มสูงขึ้น และจะส่งผลกระทบต่อสังคมเมื่อเกิดการแพร่กระจายของเชื้อโรคในพื้นที่ระบาด ข้อมูลผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิตำบลลาโละปีงบประมาณ 2563 พบว่า ในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี มีความครอบคลุม ร้อยละ 35.09 ในกลุ่มเด็กอายุครบ 2 ปี มีความครอบคลุม ร้อยละ 30.77 ในกลุ่มเด็กอายุครบ 3 ปี มีความครอบคลุม ร้อยละ 26.83 ในกลุ่มเด็กอายุครบ 5 ปี มีความครอบคลุม ร้อยละ 52.38 (รง.ประจำปี รพ.สต.บ้านอูยิ 2563) เกณฑ์มาตรฐานของการได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์อายุกำหนดไว้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นชัดเจนว่าการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ตำบลลาโละ เป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่จะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ถึงแม้ว่ายังไม่มีรายงานอัตราป่วยตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในพื้นที่ตำบลลาโละ แต่พบว่าในพื้นที่อำเภอใกล้เคียงของจังหวัดนราธิวาส ได้เกิดการระบาดของโรคคอตีบ และโรคหัด สาเหตุ และปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ตำบลลาโละ ไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดที่ค้นพบจากการทำประชาคมสุขภาพในพื้นที่ คือ ขาดความต่อเนื่องของการติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี ไม่มีเวทีให้ชุมชนได้แสดงความคิดเห็น และเสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ดังนั้น กลวิธีการดำเนินงานสำหรับใช้แก้ปัญหาตามเหตุ และปัจจัยที่พบในครั้งนี้ คือ การใช้หลักการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในพื้นที่ โดยเฉพาะอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ซึ่งถือว่าเป็นทรัพยากรบุคคลทางสาธารณสุขที่มีความสำคัญยิ่งที่อยู่ในพื้นที่ใกล้ชิดประชากรเป้าหมายที่สุด รวมถึงผู้นำศาสนาก็เป็นอีกภาคีเครือข่ายหนึ่งที่ไม่ควรมองข้ามเพราะเป็นผู้ดูแลเด็กโดยตรง และนำแนวคิดหรือทฤษฎีการสร้างแรงจูงใจต่อภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานมาเสริมความเป็นบุคคลจิตอาสาของภาคีเครือข่ายที่มีอยู่แล้วเป็นทุนเดิมให้มีขวัญและกำลังใจเพิ่มมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ตำบลลาโละ จึงได้จัดทำโครงการชุมชนห่วงใย ใส่ใจวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ปีงบประมาณ 64 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส เมื่อดำเนินการแล้วคาดว่าจะทำให้การดำเนินงานสร้างเสริภูมิคุ้มกันโรคมีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น และจะส่งผลทำให้ไม่มีอัตราป่วย หรืออัตราตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในพื้นที่ตำบลลาโละ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้อสม.ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้เกี่ยวกับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
  2. 2.เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ในเด็ก 0-5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมติดตามกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มาฉีดวัคซีนตามนัด โดยอสม.และแกนนำชุมชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
  2. จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. ผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน เรื่องวัคซีนในเด็กอายุ 0- 5 ปี
  3. จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องวัคซีนแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี สัญจรแต่ละหมู่บ้าน จำนวน ๕ หมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม.ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้เกี่ยวกับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
  2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี และประชาชนทั่วไปในหมู่บ้านให้ความสำคัญในการพาบุตรหลานไปรับบริการฉีดวัคซีนตรงตามนัดทุกครั้ง
  3. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี เพิ่มมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้อสม.ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้เกี่ยวกับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละของ อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้เกี่ยวกับวัคซีนสร้างภูมิคุ้มกันโรค
0.00 80.00

 

2 2.เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ในเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี ครบชุดตามเกณฑ์
52.38 76.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้อสม.ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาและผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้เกี่ยวกับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (2) 2.เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ในเด็ก 0-5 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตามกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มาฉีดวัคซีนตามนัด โดยอสม.และแกนนำชุมชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ (2) จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. ผู้นำศาสนาและผู้นำชุมชน เรื่องวัคซีนในเด็กอายุ 0- 5 ปี (3) จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องวัคซีนแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี สัญจรแต่ละหมู่บ้าน จำนวน ๕ หมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนห่วงใย ใสใจวัคซีนในเด็กอายุ 0 – 5 ปี จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2514-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมารียะห์ สะแต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด