กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564
รหัสโครงการ 1018/64
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำชิง
วันที่อนุมัติ 1 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 ธันวาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ธันวาคม 2564
งบประมาณ 50,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอามีนา ชูระเจียร
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2564 31 ส.ค. 2564 50,700.00
รวมงบประมาณ 50,700.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 46 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเรื้อรังเป็นสิ่งที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้นกับตนเองหรือคนในครอบครัว เพราะการที่ต้องทนอยู่กับความเจ็บป่วยเป็นเวลานานอาจทำให้สุขภาพโดยรวมแย่ลง และอาจส่งผลกระทบต่อชีวิตด้านต่างๆอีกด้วย แต่ในเมื่อเกิดโรคขึ้นแล้ว สิ่งที่ผู้ป่วยควรทำคือดูแลสุขภาพตนเองและหาทางอยู่ร่วมเป็นโรคเรื้อรังอย่างปลอดภัยและมีความสุขที่สุด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำชิง มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทั้งสิ้น 385คนส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีความเสื่อมตามวัย มีปัจจัยหลายอย่างในการรักษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านลำชิง จึงได้จัดทำโครงการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อเป็นการควบคุมโรคลดอาการแทรกซ้อนที่อันตรายและเพื่อสร้างขวัญกำลังใจ ในการหาทางอยู่ร่วมกับโรคเรื้อรังอย่างปลอดภัยและมีความสุขที่สุด ตลอดจนเพื่อจัดหาอุปกรณ์ในการติดตามผู้ป่วยได้อย่างเพียงพอให้แก่ อสม.ในการปฎิบัติงาน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการดูแลอย่างสม่ำเสมอ

ผู้ป่วยได้รับการดูแลต่อเนื่อง

46.00 23.00
2 เพื่อควบคุมโรคให้อยู่ในระดับเหมาะสมตามเกณฑ์

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีระดับความดัน ไม่เกิน 140/90 มิลลิเมตรปรอทร้อยละ 50  ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีระดับน้ำตาลไม่เกิน 140 mgdl ร้อยละ 40 ไม่เกิดโรคแทรกซ้อนที่อันตราย เช่น โรคเกี่ยวกับเส้นเลือดในสมอง

46.00 23.00
3 เพื่อจัดหาอุปกรณ์เครื่องมือในการติดตามดูแลผู้ป่วย

อสม.มีเครื่องมือตรวจวัดความดันโลหิตเพิ่มขึ้น จำนวน 10  เครื่อง เครื่องตรวจวัดน้ำตาล 3 เครื่อง

46.00 23.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 50,700.00 0 0.00
1 ก.พ. 64 - 31 ธ.ค. 64 ให้ความรู้แก่ อสม.ในเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/ฝึกทักษะการตรวจวัดความดัน โลหิตการเจาะเลือดที่ปลายนิ้วที่ถูกต้อง มอบอุปกรณ์เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องเจาะน้ำตาล พร้อมสอนวิธีการดูแลรักษาอุปกรณ์เครื่องมือ 0 50,700.00 -
1 ก.พ. 64 - 31 ส.ค. 64 อสม. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรังเดือนละ 1 ครั้ง หรือบางรายเยี่ยม 2 ครั้งต่อ 1 เดือน 0 0.00 -
1 - 30 ก.ย. 64 สรุปผลโครงการ ส่งผู้สนับสนุนงบประมาณ/ อสม 0 0.00 -
  1. ให้ความรู้แก่ อสม.ในเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/ฝึกทักษะการตรวจวัดความดันโลหิตการเจาะเลือดที่ปลายนิ้วที่ถูกต้อง มอบอุปกรณ์เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องเจาะน้ำตาล พร้อมสอนวิธีการดูแลรักษาอุปกรณ์เครื่องมือ มี
  2. อสม. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรังเดือนละ 1 ครั้ง หรือบางรายเยี่ยม 2 ครั้งต่อ 1 เดือน พร้อมกับส่งผลการติดตามเยี่ยมบ้าน (ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูงในระดับอันตราย จนท.สาธารณสุข ลงติดตามเยี่ยมบ้านซ้ำ
  3. สรุปผลโครงการ ส่งผู้สนับสนุนงบประมาณ/ อสม.จัดส่งอุปกรณ์เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องเจาะน้ำตาลคืน รพ.สต.บ้านลำชิง แต่สามารถมายืมอุปกรณ์ไปใช้ในการติดตามดูแลผู้ป่วยได้ตลอดเวลา
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เพื่อผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการดูแลอย่างสม่ำเสมอ
  2. เพื่อ อสม. มีเครื่องมือในการติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างเพียงพอ
  3. เพื่อควบคุมโรคให้อยู่ในระดับเหมาะสมตามเกณฑ์
  4. ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่อันตราย เช่นโรคเกี่ยวกับเส้นเลือดในสมอง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.พ. 2564 00:00 น.