กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ ครอบคลุมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ให้แก่เยาวชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม มีองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
64.00

 

2 เพื่อสร้างกลุ่มแกนนำเยาวชน “รักษ์สุขภาพ” ในการส่งเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมถึงร่วมกันแก้ไขปัญหาการติดยาเสพติดของเยาวชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้ารับการอบรม เป็นเเกนนำเยาวชน “รักษ์สุขภาพ” ในพื้นที่
80.00

 

3 เพื่อให้เยาวชนสามารถพัฒนาทักษะในด้านต่างๆ รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งด้านความคิด การปฏิบัติตน และสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจ ไม่ตกเป็นเครื่องมือของอบายมุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม มีทักษะในการใช้ชีวิตในสังคมและมีภูมิคุ้มกันด้านจิตใจที่เข้มแข็ง
64.00

 

4 เพื่อให้เยาวชนมีสุขภาวะที่ดี เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งส่งผลให้การดำรงชีวิตในสังคมเป็นไปอย่างปกติสุขด้วยความสมัครใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีสุขภาวะที่ดี เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ในพื้นที่
64.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ ครอบคลุมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ให้แก่เยาวชนในพื้นที่ (2) เพื่อสร้างกลุ่มแกนนำเยาวชน “รักษ์สุขภาพ” ในการส่งเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมถึงร่วมกันแก้ไขปัญหาการติดยาเสพติดของเยาวชนในพื้นที่ (3) เพื่อให้เยาวชนสามารถพัฒนาทักษะในด้านต่างๆ รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งด้านความคิด การปฏิบัติตน และสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจ ไม่ตกเป็นเครื่องมือของอบายมุข (4) เพื่อให้เยาวชนมีสุขภาวะที่ดี เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งส่งผลให้การดำรงชีวิตในสังคมเป็นไปอย่างปกติสุขด้วยความสมัครใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) แบ่งกลุ่มการเรียนรู้(Work Shop) เรื่อง แนวทางการแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นจริงในสังคมยุคปัจจุบัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh