โครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ ”
ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีดา แส้เด็น
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ
ที่อยู่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5202-(1)-3 เลขที่ข้อตกลง 8/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5202-(1)-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,995.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เมื่อกล่าวถึง "วัคซีน" หลายคนจะนึกถึงการให้วัคซีนในเด็กเป็นอันดับแรก ที่เป็นเช่นนี้เพราะปัจจุบันวัคซีนที่ใช้ในการสร้างเสิมภูมิคุ้มกันโรคส่วนใหญ่มีกลุ่มเแ้าหมายเป็นเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยเรียน เนื่องจากวัยเด้กเป็นช่วงที่ร่างกายกำลังพัฒนา รวมถึงอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันด้วย จึงมีความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคต่างๆได้ง่าย และความรุนแรงของดรคอาจส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโต พัฒนาการและชีวิต เด็กจึงควรได้รับวัคซีนโรคต่างๆ ที่จำเป็นเพื่อเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงปลอดจากโรคที่อาจทำให้ป่วยและเป็นอันตรายได้
การฉีดวัคซีนในเด็กทำเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายมีระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคสูงขึ้นเพียงพอที่จะป้องกันโรคได้ในระยะเวลานาน ป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง ขัดขวางการแพร่ระบาด และลดผลกระทบร้ายแรงของโรคในเด็ก โดยเฉพาะ โรคหัด คอตีบ ไอกรน และโปลิโอ ที่ล้วนเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญของเด็ก ซึ่งทางองคืการอนามัยโลกเคยประเมินว่า การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนสามารถลดอัตราการตายในเด็กอาุต่ำกว่า 5 ปี ทั่วโลก จาก 13 ล้านคนใน พ.ศ. 2533 เหลือ 9 ล้านคนใน พ.ศ. 2551 ดังนั้นการให้วัคซีนในวัยเด็กเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโรคจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง
ที่ผ่านมานั้นสถานการณ์ของดรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในประเทศไทยโดยเฉพาะโรคที่สำคัญ เช่น โรคไวรัสตับอักเสบบี วัณโรค และโรคคอตีบนั้น จากการรณรงค์โรคไวรัสตับอักเสบบี ปี 2556 พบผู้มารับบริการตรวจคัดกรองไวรัสตักอับเสบบีโดยกรมควบคุมโรคร่วมกับโรงพยาบาลให้ผลบวกจากการตรวจคัดกรองฯ เท่ากับ 1,273 ราย ตั้งแต่ พ.ศ. 2554-2556 พบผู้ป่วยโดยประมาร 6,000รายต่อปี ในขณะที่พบผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ โดยเฉลี่ยประมาร 30,000 ราย นอกจากนี้ยังพบว่า สถานการณ์โรคคอตีบในปี2554-2556 ยังพบผู้ป่วย 28,63 และ 29 รายต่อปี ตามลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าโรคเหล่านี้เป็นโรคที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและอาจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ แม้ว่ากระทรวงสาธารรสุขจะมีการสนับสนุนวัคซีนป้องกันโรคดังกล่าวในเด็กแล้วก็ตาม
จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุชภาพตำบล ตำบลประกอบ พบว่าในปี พ.ศ. 2563 มีเด็ก 0-5 ปี มารับวัคซีนเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค เฉลี่ย 66 คนต่อเดือน และมีเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด เฉลี่ย12 คนต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ 18.18 ซึ่งการที่เด็กได้รับวัคซีนไม่ตรงตามกำหนด เช่น ได้รับวัคซีนก่อนหรือหลังเกณฑ์กำหนด หรือระยะห่างในการรับวัคซีนแต่ละชนิดไม่ถูกต้อง จะส่งผลให้ประสิทะิภาพในการป้องกัโรคของวัคซีนบางชนิดลดลง หรือ ทำให้ป่วยด้วยโรคติดที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ทั้งนี้ปัญหาที่พบส่วนหนึ่งเกิดจากผู้ปกครองเด็กไม่พาเด็กมารับวัคซีนตามนัด เนื่องจากสาเหตุผลต่างๆ เช่น ไม่มาตามนัด ติดธุระ ภารกิจสำคัญในวันที่มีการฉีดวัคซีน วัคซีนไมมีฮาลาล หรือพาเด็กย้ายออกนอกพื้นที่อื่น เป็นต้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลประกอบ ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคให้กับหลุ่มเด็ก0-5 ปี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์เด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น เพื่อเร่งรัดและรณรงค์ให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
.
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็ก 0 -5 ปี ได้รับการติดตามให้รับวัควีนครบตามเกณฑ์อายุ
- 2. เพื่อให้ผุ้ปกครองได้รับความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
177
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองได้รับความรู้เรื่องวัคซีน
- กลุ่มเป้าหมาย 0-5 ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ร้อยละ 90
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้เด็ก 0 -5 ปี ได้รับการติดตามให้รับวัควีนครบตามเกณฑ์อายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กในตำบลประกอบได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
80.00
2
2. เพื่อให้ผุ้ปกครองได้รับความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองมีความรู้และความตระหนักของวัคซีน
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
177
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
177
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็ก 0 -5 ปี ได้รับการติดตามให้รับวัควีนครบตามเกณฑ์อายุ (2) 2. เพื่อให้ผุ้ปกครองได้รับความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5202-(1)-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรีดา แส้เด็น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ ”
ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีดา แส้เด็น
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5202-(1)-3 เลขที่ข้อตกลง 8/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5202-(1)-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,995.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เมื่อกล่าวถึง "วัคซีน" หลายคนจะนึกถึงการให้วัคซีนในเด็กเป็นอันดับแรก ที่เป็นเช่นนี้เพราะปัจจุบันวัคซีนที่ใช้ในการสร้างเสิมภูมิคุ้มกันโรคส่วนใหญ่มีกลุ่มเแ้าหมายเป็นเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยเรียน เนื่องจากวัยเด้กเป็นช่วงที่ร่างกายกำลังพัฒนา รวมถึงอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกันด้วย จึงมีความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคต่างๆได้ง่าย และความรุนแรงของดรคอาจส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโต พัฒนาการและชีวิต เด็กจึงควรได้รับวัคซีนโรคต่างๆ ที่จำเป็นเพื่อเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงปลอดจากโรคที่อาจทำให้ป่วยและเป็นอันตรายได้ การฉีดวัคซีนในเด็กทำเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายมีระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคสูงขึ้นเพียงพอที่จะป้องกันโรคได้ในระยะเวลานาน ป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง ขัดขวางการแพร่ระบาด และลดผลกระทบร้ายแรงของโรคในเด็ก โดยเฉพาะ โรคหัด คอตีบ ไอกรน และโปลิโอ ที่ล้วนเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญของเด็ก ซึ่งทางองคืการอนามัยโลกเคยประเมินว่า การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนสามารถลดอัตราการตายในเด็กอาุต่ำกว่า 5 ปี ทั่วโลก จาก 13 ล้านคนใน พ.ศ. 2533 เหลือ 9 ล้านคนใน พ.ศ. 2551 ดังนั้นการให้วัคซีนในวัยเด็กเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโรคจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ที่ผ่านมานั้นสถานการณ์ของดรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในประเทศไทยโดยเฉพาะโรคที่สำคัญ เช่น โรคไวรัสตับอักเสบบี วัณโรค และโรคคอตีบนั้น จากการรณรงค์โรคไวรัสตับอักเสบบี ปี 2556 พบผู้มารับบริการตรวจคัดกรองไวรัสตักอับเสบบีโดยกรมควบคุมโรคร่วมกับโรงพยาบาลให้ผลบวกจากการตรวจคัดกรองฯ เท่ากับ 1,273 ราย ตั้งแต่ พ.ศ. 2554-2556 พบผู้ป่วยโดยประมาร 6,000รายต่อปี ในขณะที่พบผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ โดยเฉลี่ยประมาร 30,000 ราย นอกจากนี้ยังพบว่า สถานการณ์โรคคอตีบในปี2554-2556 ยังพบผู้ป่วย 28,63 และ 29 รายต่อปี ตามลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าโรคเหล่านี้เป็นโรคที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและอาจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ แม้ว่ากระทรวงสาธารรสุขจะมีการสนับสนุนวัคซีนป้องกันโรคดังกล่าวในเด็กแล้วก็ตาม จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก 0-5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุชภาพตำบล ตำบลประกอบ พบว่าในปี พ.ศ. 2563 มีเด็ก 0-5 ปี มารับวัคซีนเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค เฉลี่ย 66 คนต่อเดือน และมีเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด เฉลี่ย12 คนต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ 18.18 ซึ่งการที่เด็กได้รับวัคซีนไม่ตรงตามกำหนด เช่น ได้รับวัคซีนก่อนหรือหลังเกณฑ์กำหนด หรือระยะห่างในการรับวัคซีนแต่ละชนิดไม่ถูกต้อง จะส่งผลให้ประสิทะิภาพในการป้องกัโรคของวัคซีนบางชนิดลดลง หรือ ทำให้ป่วยด้วยโรคติดที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ทั้งนี้ปัญหาที่พบส่วนหนึ่งเกิดจากผู้ปกครองเด็กไม่พาเด็กมารับวัคซีนตามนัด เนื่องจากสาเหตุผลต่างๆ เช่น ไม่มาตามนัด ติดธุระ ภารกิจสำคัญในวันที่มีการฉีดวัคซีน วัคซีนไมมีฮาลาล หรือพาเด็กย้ายออกนอกพื้นที่อื่น เป็นต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลประกอบ ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคให้กับหลุ่มเด็ก0-5 ปี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์เด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น เพื่อเร่งรัดและรณรงค์ให้กลุ่มเป้าหมาย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ .
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็ก 0 -5 ปี ได้รับการติดตามให้รับวัควีนครบตามเกณฑ์อายุ
- 2. เพื่อให้ผุ้ปกครองได้รับความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 177 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองได้รับความรู้เรื่องวัคซีน
- กลุ่มเป้าหมาย 0-5 ปี ได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบตามเกณฑ์ร้อยละ 90
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เด็ก 0 -5 ปี ได้รับการติดตามให้รับวัควีนครบตามเกณฑ์อายุ ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กในตำบลประกอบได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ |
80.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้ผุ้ปกครองได้รับความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีน ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองมีความรู้และความตระหนักของวัคซีน |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 177 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 177 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็ก 0 -5 ปี ได้รับการติดตามให้รับวัควีนครบตามเกณฑ์อายุ (2) 2. เพื่อให้ผุ้ปกครองได้รับความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการรับวัคซีน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี ตำบลประกอบ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5202-(1)-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรีดา แส้เด็น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......