โครงการอนุรักษ์วัฒนธรรมขนมไทยเพื่อสุขภาพ
ชื่อโครงการ | โครงการอนุรักษ์วัฒนธรรมขนมไทยเพื่อสุขภาพ |
รหัสโครงการ | 019/2560 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลศรีนครินทร์(ปัญญานันทภิกขุ) |
วันที่อนุมัติ | 20 มิถุนายน 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 22 มิถุนายน 2560 - 22 มิถุนายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 15,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางวรรณดีปิยะพงค์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การให้ความรู้ทางด้านโภชนาการอาหาร การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การดูแลสุขภาพจิตและลดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้ถูกชนิด ปริมาณ และถูกเวลา ควรเลือกกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ให้หลากหลายและเพียงพอ งดอาหารหวาน มัน เค็ม ดูแลน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่พอเหมาะ ควบคู่กับการออกกำลังกายสม่ำเสมอ จากนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญคือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพระยะยาว ได้ขยายขอบเขตการบริการ ส่งเสริมสุขภาพไปยังกลุ่มผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภท เพื่อให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยการปฏิบัติจริง 2 กระบวนการ ได้แก่ 1.การออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที 2.การรับประทานผักและผลไม้สด วันละครึ่งกิโลกรัม หรือรับประทานผักในปริมาณครึ่งหนึ่งของอาหารแต่ละมื้อ และลดการรับประทานอาหารไขมัน จะสามารถทำให้ประชาชนลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง ได้ถึงร้อยละ 20-30 โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจแลหลอดเลือด ก็ลดลงเช่นกัน ทั้งการออกกำลังการและการปลูกผักร่วมกันยังเป็นกิจกรรมสร้างความอบอุ่นในครอบครัวอีกด้วย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างกระแสการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานของประชาชนในชุมชน
2.เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
22 มิ.ย. 60 - 22 ก.ค. 60 | 1.ค่าใช้จ่ายในการให้ความรู้ก่อนดำเนินการ 2,500 บาท 2.ค่าจัดซื้อวัสดุในการสาธิตการประกอบอาหารปลอดโรค 12,000 บาท 3.ค่าทำป้ายโครงการ 500 บาท | 100 | 15,000.00 | - | ||
รวม | 100 | 15,000.00 | 0 | 0.00 |
1.ประชุมชี้แจงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบโครงการ 2.อบรมให้แก่กลุ่มเป้าหมายในหมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การออกกำลังกาย การรับประทานผักและผลไม้สด หรือกินผักครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน 3.จัดมหกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สาธิตการประกอบอาหารปลอดโรค การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพระดับตำบล
1.ประชาชนในหมู่บ้านลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด 2.หมู่บ้านได้รบการยกย่องเชิดชูให้เป็นแบบอย่างสุขภาพดีตามวิถีชุมชน 3.เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อการลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 ก.ค. 2560 13:15 น.