กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยในชุมชนโรงเรียนและพัฒนาความรู้ อสม. ตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปี 2564

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยในชุมชนโรงเรียนและพัฒนาความรู้ อสม. ตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ปี 2564
รหัสโครงการ 64-L5194-1-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแมงลัก
วันที่อนุมัติ 27 พฤษภาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 31 กรกฎาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 18,275.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนุกูล อาญาพิทักษ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2564 30 ก.ย. 2564 18,275.00
รวมงบประมาณ 18,275.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 22 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 12 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 5 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย
0.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ
0.00
3 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

0.00 73.00
2 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ

0.00 86.00
3 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6  ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ

0.00 90.00
4 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชน โรงเรียนและอสม. มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขาภิบาลอาหารอย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3. เพื่อให้สถานที่ปรุงประกอบจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์ข้อกำหนดมาตรฐานด้านการสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
  1. ผู้ประกอบการร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนโรงเรียน และอสม.มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขาภิบาลอาหารอย่างถูกต้อง  ร้อยละ 80
  2. ผู้ประกอบการร้านขายของชำ มีความรู้เกี่ยวกับอาหารยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ร้อยละ 80
    1. สถานที่ปรุงประกอบจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์ข้อกำหนดมาตรฐานด้านการสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 80
90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 18,275.00 0 0.00
1 - 31 ก.ค. 64 1.กิจกรรมให้ความรู้ผู้ประกอบการแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนโรงเรียนและ อสม.รพ.สต.ท่าแมงลัก 0 10,175.00 -
1 - 31 ก.ค. 64 2.กิจกรรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านค้าขายของชำในชุมชน 0 4,550.00 -
1 - 31 ก.ค. 64 3.กิจกรรมตรวจประเมิณแผงจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียนให้ผ่านตามมาตราฐานที่กำหนด 0 1,800.00 -
1 - 31 ก.ค. 64 4.กิจกรรมสุ่มตรวจร้านชำในชุมชนเพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ 0 1,750.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ประกอบการร้านแผงลอยในชุมชน และผู้ปรุงอาหารในโรงเรียนและ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสุขาภิบาลอาหารอย่างถูกต้อง ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยในการบริโภคอาหารมากขึ้น
  2. ผู้ประกอบการร้านขายของชำมีความรู้เกี่ยวกับอาหารยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สามารถเลือกซื้ออาหาร ยา เครื่องสำอางผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาจำหน่ายให้กับประชาชน สามารถลดปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ฝ่าฝืนกฎหมาย และเรื่องร้องเรียนด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่
    1. สถานที่ปรุงประกอบจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์ข้อกำหนดมาตรฐานด้านการสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2564 11:12 น.