โครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่และป้องกันปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่และป้องกันปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 ”
ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมูฮำหมัดดีลัน เวาะฮะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ
เมษายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่และป้องกันปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4
ที่อยู่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2997-5-05 เลขที่ข้อตกลง 002
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2564 ถึง 30 เมษายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่และป้องกันปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่และป้องกันปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่และป้องกันปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2997-5-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2564 - 30 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเยาวชนที่ตกเป็นทาสของบุหรี่และยาเสพติด ส่วนมากจากสาเหตุหลายประการที่เกิดจากตัวเยาวชนเอง เช่น ความอยากรู้ อยากทดลอง ความคึกคะนองของเยาวชน ความต้องการให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อนหรือเข้ากับเพื่อนได้ ความไม่รู้หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของเยาวชนใช้ยาในทางที่ผิดหรือหลงเชื่อคำโฆษณา จิตใจของเยาวชนเอง จิตใจอ่อนแอ ใจคอไม่หนักแน่น เมื่อมีปัญหา ไม่สมหวัง ไม่ไตรตรองหาเหตุผลเพื่อแก้ปัญหา ก็ใช้บุหรี่หรือยาเสพติดเป็นเครื่องช่วยระงับความรู้สึกทุกข์ของตน ใช้บ่อยๆทำให้เกิดการเสพติด
ฉะนั้น การป้องกันและแก้ไขตนเองของเยาวชนให้ปลอดภัยจากปัญหาบุหรี่และยาเสพติด สามารถกระทำได้โดย 1.ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของบุหรี่และยาเสพติด และระมัดระวังในการใช้ยา 2.รู้จักเลือกคบเพื่อนที่ดี ส่งเสริมให้คิดและกระทำสิ่งที่ดีมีประโยชน์กล้าพูดปฎิเสธเพื่อนที่ชักจูงไปทางที่ไม่ดีเช่น การพูดปฏิเสธเพื่อนที่ชวนให้ลองสูบบุหรี่และยาเสพติด 3.ใช้ช่วงเวลา และความอยากรู้ อยากลอง ไปในทางที่เป็นพึงระลึกเสมอว่าตนเองนั้นมี คุณค่าทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม 4.มีความภาคภูมิใจและนับถือตนเอง ด้วยการไม่พึงพาหรือเกี่ยวข้องอบายมุขและสิ่งเสพติดใดๆซึ่งจะนำความเสื่อม ไปสู่ชีวิตของตนเอง 5.รู้จักแก้ไขปัญหาชีวิตของตนเองด้วยเหตุและผล 6.รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง ด้วยการตั้งใจศึกษาเล่าเรียน เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่และประพฤติแต่ในสิ่งที่ดีงาม จะช่วยให้เยาวชนประสบกับความสำเร็จในชีวิต 7.ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส เข้าใจวิธีการดำเนินงานชีวิตและยอมรับความเป็นจริง ที่ตนเองเป็นอยู่ โดยนำหลักศาสนามาเป็น แนวทางในการดำเนินชีวิต จะช่วยให้เยาวชนเกิดความมั่งคงทางด้านจิตใจมากขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชน โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ให้หันมาตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่และห่างไกลยาเสพติด ๒. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะ การเผยแพร่และแนะนำ การควบคุมการบริโภคยาสูบและการ รณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ ให้กับประชาชนในตำบล 3. เพื่อเป็นการป้องกันให้ชุมชนปลอดจากการบริโภคยาสูบและห่างไกลยาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
180
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนและกลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ ให้หันมาตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการต่อต้านยา
เสพติดและบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่
๒. เยาวชนเพิ่มพูนความรู้และทักษะ การเผยแพร่และแนะนำ การควบคุมการบริโภคยาสูบและการรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ และห่างไกลยาเสพติดให้กับประชาชนในตำบล
3.ชุมชนปลอดจากการบริโภคยาสูบและห่างไกลยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชน โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ให้หันมาตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่และห่างไกลยาเสพติด ๒. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะ การเผยแพร่และแนะนำ การควบคุมการบริโภคยาสูบและการ รณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ ให้กับประชาชนในตำบล 3. เพื่อเป็นการป้องกันให้ชุมชนปลอดจากการบริโภคยาสูบและห่างไกลยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 1. เยาวชนได้รับรู้ข้อมูลจากการประชาสัมพันธ์ถึงภัยของบุหรี่และยาเสพติด ร้อยละ ๙0
๒. ประชาชนผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ถึงภัยของบุหรี่และยาเสพติด ร้อยละ ๘๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
180
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
180
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชน โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ให้หันมาตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่และห่างไกลยาเสพติด ๒. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะ การเผยแพร่และแนะนำ การควบคุมการบริโภคยาสูบและการ รณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ ให้กับประชาชนในตำบล 3. เพื่อเป็นการป้องกันให้ชุมชนปลอดจากการบริโภคยาสูบและห่างไกลยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่และป้องกันปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2997-5-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมูฮำหมัดดีลัน เวาะฮะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่และป้องกันปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 ”
ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมูฮำหมัดดีลัน เวาะฮะ
เมษายน 2564
ที่อยู่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2997-5-05 เลขที่ข้อตกลง 002
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2564 ถึง 30 เมษายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่และป้องกันปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่และป้องกันปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่และป้องกันปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2997-5-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2564 - 30 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเยาวชนที่ตกเป็นทาสของบุหรี่และยาเสพติด ส่วนมากจากสาเหตุหลายประการที่เกิดจากตัวเยาวชนเอง เช่น ความอยากรู้ อยากทดลอง ความคึกคะนองของเยาวชน ความต้องการให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อนหรือเข้ากับเพื่อนได้ ความไม่รู้หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของเยาวชนใช้ยาในทางที่ผิดหรือหลงเชื่อคำโฆษณา จิตใจของเยาวชนเอง จิตใจอ่อนแอ ใจคอไม่หนักแน่น เมื่อมีปัญหา ไม่สมหวัง ไม่ไตรตรองหาเหตุผลเพื่อแก้ปัญหา ก็ใช้บุหรี่หรือยาเสพติดเป็นเครื่องช่วยระงับความรู้สึกทุกข์ของตน ใช้บ่อยๆทำให้เกิดการเสพติด
ฉะนั้น การป้องกันและแก้ไขตนเองของเยาวชนให้ปลอดภัยจากปัญหาบุหรี่และยาเสพติด สามารถกระทำได้โดย 1.ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของบุหรี่และยาเสพติด และระมัดระวังในการใช้ยา 2.รู้จักเลือกคบเพื่อนที่ดี ส่งเสริมให้คิดและกระทำสิ่งที่ดีมีประโยชน์กล้าพูดปฎิเสธเพื่อนที่ชักจูงไปทางที่ไม่ดีเช่น การพูดปฏิเสธเพื่อนที่ชวนให้ลองสูบบุหรี่และยาเสพติด 3.ใช้ช่วงเวลา และความอยากรู้ อยากลอง ไปในทางที่เป็นพึงระลึกเสมอว่าตนเองนั้นมี คุณค่าทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม 4.มีความภาคภูมิใจและนับถือตนเอง ด้วยการไม่พึงพาหรือเกี่ยวข้องอบายมุขและสิ่งเสพติดใดๆซึ่งจะนำความเสื่อม ไปสู่ชีวิตของตนเอง 5.รู้จักแก้ไขปัญหาชีวิตของตนเองด้วยเหตุและผล 6.รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง ด้วยการตั้งใจศึกษาเล่าเรียน เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่และประพฤติแต่ในสิ่งที่ดีงาม จะช่วยให้เยาวชนประสบกับความสำเร็จในชีวิต 7.ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส เข้าใจวิธีการดำเนินงานชีวิตและยอมรับความเป็นจริง ที่ตนเองเป็นอยู่ โดยนำหลักศาสนามาเป็น แนวทางในการดำเนินชีวิต จะช่วยให้เยาวชนเกิดความมั่งคงทางด้านจิตใจมากขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชน โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ให้หันมาตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่และห่างไกลยาเสพติด ๒. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะ การเผยแพร่และแนะนำ การควบคุมการบริโภคยาสูบและการ รณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ ให้กับประชาชนในตำบล 3. เพื่อเป็นการป้องกันให้ชุมชนปลอดจากการบริโภคยาสูบและห่างไกลยาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 180 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนและกลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ ให้หันมาตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการต่อต้านยา เสพติดและบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ ๒. เยาวชนเพิ่มพูนความรู้และทักษะ การเผยแพร่และแนะนำ การควบคุมการบริโภคยาสูบและการรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ และห่างไกลยาเสพติดให้กับประชาชนในตำบล 3.ชุมชนปลอดจากการบริโภคยาสูบและห่างไกลยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชน โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ให้หันมาตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่และห่างไกลยาเสพติด ๒. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะ การเผยแพร่และแนะนำ การควบคุมการบริโภคยาสูบและการ รณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ ให้กับประชาชนในตำบล 3. เพื่อเป็นการป้องกันให้ชุมชนปลอดจากการบริโภคยาสูบและห่างไกลยาเสพติด ตัวชี้วัด : 1. เยาวชนได้รับรู้ข้อมูลจากการประชาสัมพันธ์ถึงภัยของบุหรี่และยาเสพติด ร้อยละ ๙0 ๒. ประชาชนผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ถึงภัยของบุหรี่และยาเสพติด ร้อยละ ๘๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 180 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 180 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชน โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ให้หันมาตระหนักสนใจและมีส่วนร่วม ในการควบคุมการบริโภคยาสูบและร่วมรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่และห่างไกลยาเสพติด ๒. เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะ การเผยแพร่และแนะนำ การควบคุมการบริโภคยาสูบและการ รณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ ให้กับประชาชนในตำบล 3. เพื่อเป็นการป้องกันให้ชุมชนปลอดจากการบริโภคยาสูบและห่างไกลยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่และป้องกันปัญหายาเสพติด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖4 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2997-5-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมูฮำหมัดดีลัน เวาะฮะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......