กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง


“ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ประธาน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน.รพ.สต.บ้านลำ(นางจริยา เกื้อสุข)

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3360-2-16 เลขที่ข้อตกลง ................

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3360-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา สาเหตุของการเกิดโรคไข้เลือดออกเกิดจากเชื้อไวรัสเด็งกี่(Dengue) เชื้อไวรัสชิคุนกุนย่า(Chikungunya) เป็นสาเหตุของโรคซึ่งปัจจุบันจากการตรวจสอบจากห้องปฏิบัติการพบว่าเชื้อไวรัสเด็งกี่มี 4 ชนิดเชื้อดังกล่าวสามารถทำให้เลือดออกรุนแรงได้ ดังนั้นเมื่อ  เชื้อตัวใดตัวหนึ่งเข้าสู่ร่างกายจะทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต้านทานต่อเชื้อตัวนั้นอย่างถาวรและยังต่อต้านข้ามไปเชื้ออื่นๆอีก 3 ชนิดแต่อยู่ไม่ถาวร การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมีนาคม – ตุลาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนพอดีและชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง จากสถิติปี 2563 ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำ ซึ่งประกอบด้วย  บ้านยางยายขลุย  บ้านป่าตอ และบ้านนาภู่  พบผู้ป่วยจำนวน 3 ราย และไม่มีผู้เสียชีวิต
จากการเก็บรวบรวมข้อมูลของ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำ ในพื้นที่เขตรับผิดชอบ โดยการสำรวจค่า ร้อยละของจำนวนภาชนะที่พบลูกน้ำ × 100 / จำนวนหลังคาเรือนที่สำรวจ(BI) เท่ากับ 75.50  ,จำนวนภาชนะที่พบลูกน้ำ × 100 / จำนวนภาชนะที่สำรวจ (CI) เท่ากับ 9.5 และ จำนวนหลังคาเรือนที่พบลูกน้ำ × 100 / จำนวนหลังคาเรือนที่สำรวจ(HI) เท่ากับ 50.45 พบว่าทั้ง 3 หมู่บ้าน ยังมีปัญหาอยู่มาก ปัญหาที่เราต้องเร่งแก้ปัญหาคือ โรคไข้เลือดออก เพราะจากการสำรวจดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายยังพบว่ามีความชุกของลูกน้ำในเกณฑ์ที่สูง เพราะประชาชนส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความสนใจในการป้องกัน คิดว่าการป้องกันโรคเป็นหน้าที่ของฝ่ายสาธารณสุข ดังนั้นกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลร่มเมืองกับเทศบาลตำบลร่มเมือง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่  จึงตระหนักถึงสาเหตุของปัญหา เพื่อให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกกลับอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนแรงและเพื่อเป็นการป้องกันอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด
  2. เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า
  3. เพื่อให้ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 3 การควบคุมโรค
  2. กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป เพื่อทบทวนมาตราการและสถานการณ์โรค
  3. กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุ่งลายในพื้นที่ จำนวน 2 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป สามารถดูแลป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนของตนเองได้ 2. ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป สามารถเพิ่มประสิทธิผลในจัดการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้ 3. สามรถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกได้ ลดแหล่งเพาะพันธ์โรค ลดพื้นที่ทัศนอุจาด 4. เกิดการดูแลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น การจัดการขยะต้นทาง การจัดการน้ำเสียครัวเรือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 3 การควบคุมโรค

วันที่ 1 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ วิทยาศาสตร์การแพทย์
  2. ประสานเครือข่ายในชุมชนในการเตรียมชุมชนรองรับการควบคุมโรคด้วยการพ่นหมอกควันจากทีม SRRTตำบลร่มเมือง
  3. ดำเนินการสำรวจ HI,CI,BI ในพื้นที่รัศมี 100 เมตรจากจุดเกิดโรค งบประมาณ

- ค่าสเปรย์ฉีดยุง ๓๐๐ ml จำนวน 50 กระป๋องๆละ ๙๕ บาท เป็น 4,750 บาท - ค่าโลชั่นยาทากันยุง ๕๐ กรัม จำนวน ๑๐๐ ขวดละ ๕๐ บาท เป็นเงิน ๕,๐๐๐ บาท
รวมเป็นเงิน 9,750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป สามารถดูแลป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนของตนเองได้ 2. ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป สามารถเพิ่มประสิทธิผลในจัดการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้ 3. สามรถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกได้ ลดแหล่งเพาะพันธ์โรค ลดพื้นที่ทัศนอุจาด 4. เกิดการดูแลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น การจัดการขยะต้นทาง การจัดการน้ำเสียครัวเรือน

 

0 0

2. กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป เพื่อทบทวนมาตราการและสถานการณ์โรค

วันที่ 9 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประสานงานกับผู้นำชุมชน/เทศบาล/อสม/และประชาชน เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงานในครั้งนี้
  2. อบรมให้ความรู้แก่ ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป   - ทบทวนการระบาดของโรค   - แนวทางการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกกับเครือข่ายสุขภาพ   - การประเมินค่า HI,CI,BI
    งบประมาณ

- ค่าอาหารว่าง จำนวน 60 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท     เป็นเงิน 1,500  บาท - ค่าวัสดุและเอกสาร    จำนวน 60 ชุดๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท รวมเป็นเงิน  3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป สามารถดูแลป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนของตนเองได้ 2. ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป สามารถเพิ่มประสิทธิผลในจัดการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้ 3. สามรถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกได้ ลดแหล่งเพาะพันธ์โรค ลดพื้นที่ทัศนอุจาด 4. เกิดการดูแลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น การจัดการขยะต้นทาง การจัดการน้ำเสียครัวเรือน

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุ่งลายในพื้นที่ จำนวน 2 ครั้ง

วันที่ 9 พฤษภาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์แก่ประชาชนในพื้นที่ตามหอกระจายข่าวของแต่ละหมู่บ้าน
  2. รณรงค์ 3 เก็บ 3 โรค คือ  เก็บบ้าน, เก็บขยะ, เก็บน้ำ  โรคไข้เลือดออก โรคติด,เชื้อไวรัสซิกา และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย  ณ. หมู่ 5- 9 ตำบลร่มเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง งบประมาณ

- ค่าอาหารว่าง จำนวน 60 คนๆละ 2 มื้อๆละ        25 บาท  เป็นเงิน 3,000  บาท
- ค่าสื่อป้ายประชาสัมพันธ์ (ไวนิล)
ขนาด ๑.2 เมตร x ๒.4 เมตร จำนวน ๕ แผ่น x ๕๐๐ บาทเป็นเงิน ๒,๕๐๐ บาท - ค่าทรายอะเบท จำนวน ๒ ถังๆละ ๕,๐๐๐ บาท เป็นเงิน ๑๐, ๐๐๐ บาท รวมเป็นเงิน 15,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป สามารถดูแลป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนของตนเองได้ 2. ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป สามารถเพิ่มประสิทธิผลในจัดการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้ 3. สามรถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกได้ ลดแหล่งเพาะพันธ์โรค ลดพื้นที่ทัศนอุจาด 4. เกิดการดูแลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น การจัดการขยะต้นทาง การจัดการน้ำเสียครัวเรือน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

บรรลุตามโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้มาลาเรีย (ร้อยละ)
0.00 0.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า
ตัวชี้วัด : การสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(ร้อยละ)
0.00 0.00

 

3 เพื่อให้ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : - ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องไข้เลือดออก ร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด (2) เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า (3) เพื่อให้ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 3 การควบคุมโรค (2) กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ผู้นำชุมชน,อสม.และประชาชนทั่วไป เพื่อทบทวนมาตราการและสถานการณ์โรค (3) กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุ่งลายในพื้นที่ จำนวน 2 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3360-2-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ประธาน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน.รพ.สต.บ้านลำ(นางจริยา เกื้อสุข) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด