กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก IQ/EQ ”

ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางศรอนงค์ คงแป้น

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก IQ/EQ

ที่อยู่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1464-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 สิงหาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก IQ/EQ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก IQ/EQ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก IQ/EQ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1464-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 สิงหาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยจำเป็นต้องพึ่งพ่อแม่ผู้ใหญ่ในการอบรมเลี้ยงดู ปกป้อง คุ้มครอง ให้ความรัก ความอบอุ่นเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด การอบรมเลี้ยงดูที่มีคุณภาพจะส่งผลให้ด้กจริญเติบโต สุขภาพแข็งแรง มีพัฒนาการสมดุลทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณื สังคม มีความสามารถในการเรียนรู้ และเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ อันเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศทางกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขไดกำหนดแนวทางการดำเนินงานในโครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม มีโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน IQ/EQ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและแก้ไข IQ/EQ ต่ำในเด็ก สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ได้ร่วมมือกับสถาบันรามจิตติ ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนัลสนุนกานวิจัย (สกว.)และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.) จัดทำ "โครงการติดตามสภาวการณ์ไอคิวและอีคิวของเด็กไทย หรือ IQ/EQ Watch"เพ่ื่อศึกษาปัจจัยที่นำมาสู่ระดับไอคิวและอีคิวที่แตกต่างกันของเด็กไทยโครงการวิจัยการติดตามสภาวการณ์ไอคิวอีคิวของเด็กไทย (IQ/EQ Watch) ได้ดำเนินการสำรวจข้อมูลกับกลุ่มนักเรียนที่กรมสุขภาพจิตสำรวจสถานการณ์ไอคิว อีคิว ปี 2550 ในพื้นที่นำร่อง 15 จังหวัด ภาคกลางและภาคตะวันออก ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อไอคิวอีคิวของนักเรียนโดยสะท้องข้อมูลจากผู้เรียนพบว่ามีประเด็นที่น่าสนใจที่ส่งผลต่อการพัฒนาไอคิวอีคิว 8 ประเด็นได้แก่ซึ่งเป็นประเด็นเกี่ยวกับปัจจัยด้านครอบครัวและาการเลี้ยงดูเป็น 4 ประเภทได้แก่1) การได้ับการกดจากพ่อแม่บ่อยๆ2) การที่พ่อแม่ชอบเล่นกับลูก3) การที่ลูกมักมีคำถามมาถามพ่อแม่4) การที่พ่อแม่มักจะสอนให้ลูกรู้จักวางแผนก่อนเสมอประเด็นเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อไอคิว2ประเด็น1) การที่นักเรียนชองเล่นเกมประเภทค้นหาความแตกต่างของรูปภาพ2) การที่นักเรียนชอบเล่นเกมตอบปัญหาโดยจับเวลาประเด็นปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่ออีคิว 1 ประเด็น ได้แก่ การที่นักเรียนเป็นคนที่ชอบปลอบใจเพื่อนเวลาเพื่อนไม่สบายใจประเด็นปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งต่อทั้งไอคิวและอีคิว 1 ประเด็น ได้แก่ การที่นักเรียนชอบเรียนคณิตศาสตร์ จากผลการศึกษาดังกล่าว ชี้ถึงความจำเป็นในการรณรงค์ให้พ่อแม่ ผู้ปกครองเข้าใจถึงบทบาทของพ่อแม่ ผู้ปกครองและครอบครัวในการส่งเสริมพัฒนาการของไอคิวของบุตรหลานอย่างถูกทาง ทั้งการให้ความรักความอบอุ่น การมีปฏิสัมพันธ์กับลูก การส่งเสริมความคิด การเรียนรู้ตลอดจนการดูแลโภชนาการและการออกกำลังกายโดยเฉพาะการมีเวลาพูดคุยให้ความเอาใจใส่แก่กันนี้เป็นปัจจัยพื้นฐานที่ควรรณรงค์ให้พ่อแม่ผู้ปกครองให้ความสำคัญมากขึ้นนอกจากนี้ในส่วนของโรงเรียนสถานศึกษาแม้ครูส่วนใหญ่จะเชื่อมั่นว่าตนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องไอคิวอีคิวและมีพฤติกรรมการสอนหลายด้านที่สอดคล้องกับการส่งเสริมไอคิวอีคิวแต่ก็ยังมีจุดที่สามารถพัฒนาหรือเน้นหนักให้มากขึ้นอีกหลายด้านเช่น การส่งเสริมการเรียนคณิตศาสตร์แต่วัยเยาวว์ที่น่าจะส่งผลผลดีต่อทั้งไอคิวอีคิวเด้ก การเรียนผ่านการเล่นเกม การส่งเสริมระบบเพื่อช่วยเพื่อนในชั้นเรียน ตลอดจนการช่วยเหลือฝึกอบรมให้ครูรุ่นใหม่วัยหนุ่มสาวที่ยังมีประสบการณ์น้อยได้มีความเข้าใจในเรื่องนี้มากขึ้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลควนธานีได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาเด็กเล็กให้มีพัฒนาการทางด้านร่างกายสติปัญญา จิตใจ อารมณ์ สังคม มีความสามารถในการเรียนรู้ และเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก IQ/EQ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก พี่เลี้ยงเด็ก รวมถึงผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 2 - 5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่เหมาะสมในทุกด้าน
    2. เพื่อให้พ่อแม่ ครูผู้ดูแลเด็ก พี่เลี้ยงเด็ก รวมถึงผู้เลี้ยงดูเด็กอายุ 2-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลควนธานีและบุคลากรทางการศึกษา

    วันที่ 4 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดฝึกอบรมให้ความรู้พัฒนาการของเด็ก การเลี้ยงดูเด็กให้ดี EQสูง การส่งเสริม IQ/EQ แนวทางการจัดการอบรมเลี้ยงดูให้เด็กปฐมวัยมีความรู้เป็นคนดีของสังคม และการเข้าใจเรื่องพัฒนาพฤติกรรม และการส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้เหมาะสมกับวัย

     

    50 50

    2. จัดมุมหนังสือนิทาน

    วันที่ 4 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดฝึกอบรมให้ความรู้พัฒนาการของเด็ก การเลี้ยงดูเด็กให้ดี EQสูง การส่งเสริม IQ/EQ แนวทางการจัดการอบรมเลี้ยงดูให้เด็กปฐมวัยมีความรู้เป็นคนดีของสังคม และการเข้าใจเรื่องพัฒนาพฤติกรรม และการส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้เหมาะสมกับวัย

     

    0 50

    3. จัดซื้อสื่อการเรียนการสอนเสริมพัฒนาการมุมต่างๆสำหรับเด็ก

    วันที่ 11 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดฝึกอบรมให้ความรู้พัฒนาการของเด็ก การเลี้ยงดูเด็กให้ดี EQสูง การส่งเสริม IQ/EQ แนวทางการจัดการอบรมเลี้ยงดูให้เด็กปฐมวัยมีความรู้เป็นคนดีของสังคม และการเข้าใจเรื่องพัฒนาพฤติกรรม และการส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้เหมาะสมกับวัย

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    สามารถจัดฝึกอบรมให้ความรู้พัฒนาของเด็ก  การเลี้ยงดูเด็กให้ดั EQ สูง การส่งเสริม IQ/EQ แนวทางการจัดการอบรมเลี้ยงดูให้เด็กปฐมวัยมีความรู้เป็นคนดีของสังคม และเข้าใจเรื่องพัฒนาพฤติกรรม และการส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้เหมาะสมกับวัย  มีผู้เข้าร่วมการฝึกอบรม จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็ก 2-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการที่ถุกต้องสมวัย
    50.00

     

    2 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก พี่เลี้ยงเด็ก รวมถึงผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 2 - 5 ปี
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก พี่เลี้ยงเด็ก รวมถึงผู้เลี้ยงดูเด็ก มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 2-5 ปี

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก พี่เลี้ยงเด็ก รวมถึงผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 2 - 5 ปี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก IQ/EQ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1464-3-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางศรอนงค์ คงแป้น )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด