กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ


“ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ ผ่านกระบวนการกิจกรรมทางศาสนา ”

ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิยัสมินทร์ ดือราแม

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ ผ่านกระบวนการกิจกรรมทางศาสนา

ที่อยู่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ l2498-64-02-03 เลขที่ข้อตกลง 5/64

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 เมษายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ ผ่านกระบวนการกิจกรรมทางศาสนา จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ ผ่านกระบวนการกิจกรรมทางศาสนา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ ผ่านกระบวนการกิจกรรมทางศาสนา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ l2498-64-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 ได้ลุกลามไปในหลายประเทศทั่วโลก ทวีความรุนแรงมากขึ้น ทำให้จำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้น ส่วนหนึ่งเกิดจากการที่ประชาชนไม่เข้าใจแนวทางปฏิบัติตัวในถานการณ์ของโรคระบาด รวมทั้งมีความเชื่อที่ไม่ถูกต้องตาม    หลักศาสนา โดยในหลักศาสนาอิสลามอาศัยบทบัญญัติแห่งคัมภีร์อัลกรุอาน ที่ 195 ซูเราะฮ์        อัลบากอเราะฮ์ ความว่า “สูเจ้าอย่าได้นำตนเองสู่ความวิบัติ” ซึ่งมีนัยชี้ชัดว่า ห้ามกระทำการใดๆ ที่เป็นการฆ่าตัวตาย การทำร้ายตนเอง และการนำพาตนเองไปสู่ความเสียหาย ความสูญเสียหรือการเสียชีวิตจะด้วยวิธีการหรือการกระทำใดๆ ก็ตาม ล้วนเป็นสิ่งต้องห้าม สำนักจุฬาราชมนตรี ได้พิจารณาตามเจตนารมณ์สำคัญของบทบัญญัติศาสนาอิสลามเกี่ยวกับสถานการณ์ดังกล่าวแล้ว จึงประกาศให้พี่น้องมุสลิมได้พึงตระหนักและปฏิบัติตาม เพื่อลดการสูญเสียและหยุดการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส ทั้งนี้ การประกาศดังกล่าวแนะนำให้ชาวมุสลิมงดการทักทาย (สลาม) ด้วยการสัมผัสมือ การสวมกอด และการสัมผัสแก้ม โดยให้ยกมือทักทายกันเท่านั้น รณรงค์ให้ทุกคนช่วยกันดูแลทำความสะอาดอุปกรณ์ และบริเวณที่มีผู้สัมผัสมากๆ ด้วยน้ำยาทำความสะอาด และแอลกอฮอล์อย่างสม่ำเสมอ และบ่อยกว่าปกติ รวมทั้งให้ทำความสะอาดพื้นมัสยิด หรือที่ละหมาดอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เป็นต้น ในกรณีมีผู้เสียชีวิตจากโรคติดเชื้อโควิด-19 นั้น ห้ามญาติและผู้มาเยี่ยม สัมผัสหรือจูบศพ และเพื่อป้องกันการติดเชื้อ และแพร่กระจายของเชื้อ จึงทำให้การจัดการศพต้องดำเนินไปตามหลักการแพทย์ทุกประการ
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลยี่งอเห็นถึงความสำคัญในการสร้างความตระหนักให้กับ    ผู้นำศาสนาซึ่งเป็นหัวใจหลักของชุมชนที่จะเป็นแกนนำสำคัญในการประชาสัมพันธ์ไปยังประชาชนถึงมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคได้อย่างถูกต้องตามหลักสาธารณสุขที่เชื่อมหลักศาสนาและคำแถลงของจุฬาราชมนตรีในทิศทางเดียวกัน รวมถึงประชาชนในหมู่บ้านมีความตระหนักในการดูแลตนเองและมีความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการลดกระจายของเขื้อโรคโดยยึดหลักบทบัญญัติของศาสนา ซึ่งองค์กรคาดหวังว่าอีกไม่นานทุกคนจะได้กลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข และมัสยิดทุกแห่งจะเต็มไปด้วยประชาชนที่เดินทางมาร่วมกันละหมาด ทักทายกันด้วยการจับมือสลาม สวมกอดอย่างสบายใจ เพราะทุกพื้นที่สดใสปราศจาก  เชื้อโควิด-19

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจแนวทางและมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และลดการแพร่กระจายของโรค ตามหลักสาธารณสุขที่เชื่อมหลักศาสนาและคำแถลงของสำนักจุฬาราชมนตรี
  2. เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลตนเองและรับผิดชอบต่อสังคมในทุกสถานการณ์โดยยึดหลักบทบัญญัติศาสนาอิสลาม
  3. เพื่อให้สามารถสื่อสารต่อกับผู้อื่นอย่างถูกต้อง สามารถปรับตัว เฝ้าระวังและปฏิบัติตามประกาศของสำนักจุฬาราชมนตรีและหน่วยงานราชการในสถานการณ์ต่างๆ ด้วยความเข้าใจอย่างถ่องแท้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดบรรยายตามหลักการแพทย์และด้านศาสนาเกี่ยวกับความเข้าใจแนวทางและมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๙.๑ ผู้เข้ารับการอบรมมีความเข้าใจแนวทางและมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ และลดการแพร่กระจายของโรค ตามหลักสาธารณสุขที่เชื่อมหลักศาสนาและคำแถลงของสำนักจุฬาราชมนตรี ๙.๒ ผู้เข้ารับการอบรมมีความตระหนักในการดูแลตนเองและรับผิดชอบต่อสังคมใน      ทุกสถานการณ์โดยยึดหลักบทบัญญัติศาสนาอิสลาม ๙.๓ เพื่อให้สามารถสื่อสารต่อกับผู้อื่นอย่างถูกต้อง สามารถปรับตัว เฝ้าระวังและปฏิบัติตามประกาศของสำนักจุฬาราชมนตรีและหน่วยงานราชการในสถานการณ์ต่างๆ ด้วยความเข้าใจอย่างถ่องแท้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจแนวทางและมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และลดการแพร่กระจายของโรค ตามหลักสาธารณสุขที่เชื่อมหลักศาสนาและคำแถลงของสำนักจุฬาราชมนตรี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลตนเองและรับผิดชอบต่อสังคมในทุกสถานการณ์โดยยึดหลักบทบัญญัติศาสนาอิสลาม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้สามารถสื่อสารต่อกับผู้อื่นอย่างถูกต้อง สามารถปรับตัว เฝ้าระวังและปฏิบัติตามประกาศของสำนักจุฬาราชมนตรีและหน่วยงานราชการในสถานการณ์ต่างๆ ด้วยความเข้าใจอย่างถ่องแท้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจแนวทางและมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และลดการแพร่กระจายของโรค ตามหลักสาธารณสุขที่เชื่อมหลักศาสนาและคำแถลงของสำนักจุฬาราชมนตรี (2) เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลตนเองและรับผิดชอบต่อสังคมในทุกสถานการณ์โดยยึดหลักบทบัญญัติศาสนาอิสลาม (3) เพื่อให้สามารถสื่อสารต่อกับผู้อื่นอย่างถูกต้อง สามารถปรับตัว เฝ้าระวังและปฏิบัติตามประกาศของสำนักจุฬาราชมนตรีและหน่วยงานราชการในสถานการณ์ต่างๆ ด้วยความเข้าใจอย่างถ่องแท้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดบรรยายตามหลักการแพทย์และด้านศาสนาเกี่ยวกับความเข้าใจแนวทางและมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ ผ่านกระบวนการกิจกรรมทางศาสนา จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ l2498-64-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนิยัสมินทร์ ดือราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด