กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ข้อที่1 เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1.อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 2.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5
13.58 0.00

 

 

 

2 ข้อที่2. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 50 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรังมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้
0.00

 

 

 

3 ข้อที่3.เพื่อลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของeGFR<4ml/min/1.73m2/yr มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 66
0.00

 

 

 

4 ข้อที่4.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงทุกรายที่ผ่านการตรวจค่าน้ำตาลในเลือดแบบอดอาหาร(FBS)และมีค่าน้ำตาล100-125mg%ได้รับการตรวจความทนทานต่อกลูโคส(75gm OGTT)
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานผ่านการตรวจค่าน้ำตาลในเลือดแบบอดอาหาร(FBS)และมีค่าน้ำตาล100-125mg%ได้รับการตรวจความทนทานต่อกลูโคส(75gm OGTT)ร้อยละ 60
0.00