กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ


“ โครงการสมาธิบำบัด ด้วยวิธี SKT เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล ”

ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลตรังร่วมกับเรือนจำจังหวัดตรัง

ชื่อโครงการ โครงการสมาธิบำบัด ด้วยวิธี SKT เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล

ที่อยู่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1490-2-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสมาธิบำบัด ด้วยวิธี SKT เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสมาธิบำบัด ด้วยวิธี SKT เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสมาธิบำบัด ด้วยวิธี SKT เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1490-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความเครียด ความกลัว ความกังวล ความเสียใจ และความแปรปรวนของอารมณ์จะส่งผลเสียต่อร่างกาย กระทบต่อระบบฮอร์โมน ระบบประสาทอัตโนมัติ และระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้กล้ามเนื้อหดเกร็ง หัวใจเต้นเร็วและแรง เส้นเลือดที่มาเลี้ยงหัวใจตีบเล็กลง ส่งผลให้ความดันโลหิตสูงขึ้น ปริมาณน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น ลำไส้ทำงานได้น้อยลง ระบบภูมิคุ้มกันลดลง และความเครียดยังเป็นสาเหตุสำคัญของความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดถึงร้อยละ ๔o

การทำสมาธิบำบัด SKT เป็นการฝึกการควบคุมประสาทสัมผัสทั้ง ๖ คือ ตา หู จมูก สิ้น สัมผัส และการเคลื่อนไหว เป็นการนำหลักประสาทวิทยาศาสตร์มาผสมผสานกับการปฏิบัติสมาธิ จะทำให้ร่างกายได้รับสารเมลาโทนิน (Melatonin) สารโดปามีน (dopamine) ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ กระตุ้นภูมิคุ้มกัน รักษาความสมดุลให้กับร่างกาย ช่วยในการกำจัดของเสียภายในร่างกายและยับยั้งเซลล์มะเร็งได้เป็นอย่างดี ซึ่งมีประสิทธิภาพในการเยียวยารักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น ช่วยลดความดันโลหิต ลดระดับน้ำตาลในเลือด ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เพิ่มภูมิต้านทานโรคเรื้อรัง ลดอาการท้องผูก แก้ปัญหาไหลเวียนโลหิต ภูมิแพ้ ช่วยให้นอนหลับดี หลับลึก รักษาอาการนอนไม่หลับได้ และยังช่วยในการรักษาโรคพาร์กินสัน

จากการให้บริการทางด้านสุขภาพของโรงพยาบาลตรังแก่เรือนจำจังหวัดตรัง พบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๖๕คนโรคเบาหวาน จำนวน ๒oคน ร่วมกับการคัดกรองโรคเรื้อรังในปีงบประมาณ ๒๕๖o พบกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ดังนั้น เพื่อให้กลุ่มที่เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานไม่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน หรือยืดเวลาการไม่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานของกลุ่มเสี่ยงขึ้น และ กลุ่มที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมโรคได้ กลุ่มภารกิจด้านบริการปฐมภูมิและงานประกันสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการสมาธิบำบัด ด้วยวิธี SKT เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคต และยังเป็นการสร้างเสริมสุขภาพและบำบัดรักษาผู้ต้องขังกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรัง ไม่ให้ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง อันจะนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ต้องขังในเรือนจำจังหวัดตรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ต้องขังกลุ่มป่วยและกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังได้รับความรู้ในการทำสมาธิบำบัดด้วยวิธี SKT
  2. เพื่อให้ผู้ต้องขังกลุ่มป่วยและกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังได้รับการสร้างเสริมสุขภาพและบำบัดรักษารักษาโดยสมาธิบำบัดด้วยวิธี SKT

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ต้องขังกลุ่มป่วยและกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังมีความรู้ในการทำสมาธิบำบัดด้วยวิธี SKT
    2. ผู้ต้องขังกลุ่มป่วยและกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังได้รับการสร้างเสริมสุขภาพและบำบัดรักษา

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ต้องขังกลุ่มป่วยและกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังได้รับความรู้ในการทำสมาธิบำบัดด้วยวิธี SKT
    ตัวชี้วัด : ผู้ต้องขังกลุ่มป่วยและกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังมีความรู้ในการทำสมาธิบำบัดด้วยวิธี SKT

     

    2 เพื่อให้ผู้ต้องขังกลุ่มป่วยและกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังได้รับการสร้างเสริมสุขภาพและบำบัดรักษารักษาโดยสมาธิบำบัดด้วยวิธี SKT
    ตัวชี้วัด : ผู้ต้องขังกลุ่มป่วยและกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังได้รับการสร้างเสริมสุขภาพและบำบัดรักษา

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ต้องขังกลุ่มป่วยและกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังได้รับความรู้ในการทำสมาธิบำบัดด้วยวิธี SKT (2) เพื่อให้ผู้ต้องขังกลุ่มป่วยและกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังได้รับการสร้างเสริมสุขภาพและบำบัดรักษารักษาโดยสมาธิบำบัดด้วยวิธี SKT

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสมาธิบำบัด ด้วยวิธี SKT เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1490-2-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลตรังร่วมกับเรือนจำจังหวัดตรัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด