กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป


“ โครงการใส่ใจคนละนิด เพื่อชีวิตที่สดใส ”

อาคารอเนกประสงค์บ้านหาดทรายยาว ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายตรี ทิ้งปากถ้ำ

ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจคนละนิด เพื่อชีวิตที่สดใส

ที่อยู่ อาคารอเนกประสงค์บ้านหาดทรายยาว ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใส่ใจคนละนิด เพื่อชีวิตที่สดใส จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อาคารอเนกประสงค์บ้านหาดทรายยาว ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจคนละนิด เพื่อชีวิตที่สดใส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการใส่ใจคนละนิด เพื่อชีวิตที่สดใส " ดำเนินการในพื้นที่ อาคารอเนกประสงค์บ้านหาดทรายยาว ตำบลตันหยงโป อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,160.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

"บ้านหาดทรายยาว หมู่ที่ 2 ตำบลตันหยงโป อำเภอเมือง จังหวัดสตูล" เป็นพื้นที่เป้าหมายในการจัดทำโครงการ มีข้อมูลพื้นฐานชุมชน ดังนี้ 1. จำนวนครัวเรือนและประชากรในชุมชน จำนวนทั้งหมด 323 ครัวเรือน ประชากรรวม 1,243 คน ในจำนวนนี้ แบ่งออกเป็นกลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป พ่อบ้าน แมาบ้าน วัยแรงงาน ส่วนที่เหลือเป็นวัยเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปี 2. ด้านอาชีพ อาชีพหลักของคนในชุมชน คือ การประมง เกษตรกรรม ค้าขาย และรับจ้างทั่วไป ซึ่งมากกว่าร้อยละ 95 เป็นการทำประมง เพราะส่วนใหญ่คนในชุมชนไม่ค่อยให้ความสำคัญเกี่ยวกับสุขภาพ จึงส่งผลกระทบต่อสภาพร่างกายในการใช้ชีวิตประจำวัน 3. ด้านศาสนา ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาหลักของชุมชน โดยมีประชาการนับถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาหลัก ซึ่งต่างให้การอบรมด้านศีลธรรมและปฏิบัติพิธีกรรม อยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ทั้งนี้ หากพิจารณาจากข้อมูลฐานดังกล่าวพบว่า คนในชุมชนสามารถเกิดโรคได้ง่าย พบว่าปัจจุบันบ้านหาดทรายยาวกำลังเผชิญกับปัญหาด้านสุขภาพ และคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนประชาชน และผู้สูงอายุ กล่าว คือ เนื่ิองจากในสังคมปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาวัตน์จากสภาพสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและสภาพแวดล้อมทำให้หลายคนมองข้ามการออกกำลังการ หลายคนอ้างไม่มีเวลา บางคนเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงอิริยาบทในชีวิตประจำวันเป็นการออกกำลังกาย จึงเป็นสาเหตุให้สุขภาพอ่อนแอและอาจประสบกับปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคภัยต่าง ๆ ตามมาด้วยเหตุผลดังกล่าว ทางชมรมจึงมองเห็นความสำคัญได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อต้องการให้ความสำคัญในการพัฒนาตั้งแต่วัยเด็ก โดยเฉพาะในเด็กวัยเรียนซึ่งเป็นอีกวัยหนึ่งที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต และมีความพร้อมในการเรียนรู้ทุก ๆ ด้าน เพื่อปลูกฝังให้ปฏิบัติเป็นกิจวัตรและเติบโตสู่วัยทำงาน โดยที่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและให้ความสำคัญเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ชมรมกีฬาเพื่อสุขภาพบ้านหาดทรายยาวและแกนนำชุมชนในตำบลตันหยงโปก็เห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ "ใส่ใจคนละนิด เพื่อชีวิตที่สดใส" เพื่อให้เกิดความตระหนักและตื่นตัวเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพ จึงได้ทำโครงการขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมประชาชนในพื้นที่ให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการดำรงชีวิตที่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและรวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างอาสาสมัคร หรือแกนนำสร้างเสริมสุขภาพภายในชุมชน
  2. 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความสามัคคี ระหว่างเยาวชน ประชาชน และผู้สูงอายุ
  3. 3. เพื่อให้คนในชุมชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และลดภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้าอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ มีความรู้ความเข้าใจ และปฏิบัติตามสิ่งที่อบรมได้อย่างถูกต้อง
    2. เป็นแบบอย่างการส่งเสริมสุขภาพแก่ชุมชน ในพื้นที่ตำบลตันหยงโป
    3. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
    4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสามัคคี มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
    5. สร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้คนรุ่นหลังได้มีทัศนคติที่ดีและให้ความสำคัญต่อการดูและสุขภาพ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสร้างอาสาสมัคร หรือแกนนำสร้างเสริมสุขภาพภายในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความสามัคคี ระหว่างเยาวชน ประชาชน และผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้คนในชุมชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และลดภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างอาสาสมัคร หรือแกนนำสร้างเสริมสุขภาพภายในชุมชน (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความสามัคคี ระหว่างเยาวชน ประชาชน และผู้สูงอายุ (3) 3. เพื่อให้คนในชุมชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และลดภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการใส่ใจคนละนิด เพื่อชีวิตที่สดใส จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายตรี ทิ้งปากถ้ำ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด