กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงเฝ้าระวังควบคุมโรค ไข้เลือดออกในชุมชนเชิงปฏิบัติการ และต่อยอดผลิตภัณฑ์ป้องกันยุง
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านตำเสา
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,210.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2564 30 ก.ย. 2564 27,210.00
รวมงบประมาณ 27,210.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกที่มีการระบาดอยู่ทั่วประเทส และเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญ ส่งผลการะทบตามมามากมาย เช้่น เป้ฯภาระของครอบครัว ผลต่อการเรียน ต่อการทำงานและค่าใช้จ่ายในการรับบริการการรักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายของครอบครัวผู้ป่วย ตลอดจนอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร ด้วยเหตุนี้ ปัญหาโรคไข้เลือดออก จีงเป็นปัญหาสำคัญที่ราทุกคนในสังคม ควรช่วยกันป้องกัน แก้ไข อย่างจริงจัง เพื่อลดปัญหารการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ในประเทศไทย และเพื่อลดผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจ และสุขภาพของประชาชนจากการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่ระดับครัวเรื่อน ชุมชน จนถึงระดับชาติ และในส่วนของเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสา เอง ก็มีผู้ป่วยซึ่งเป็นโรคไข้เลือดออกในทุกๆปี ทั้งที่มีการรณรงค์ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการควบคุมลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำ ยุงลาย อย่างต่อเนื่อง โดยทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านร่วมกับ คณะเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล รพ.สต.บ้านตำเสา และหน่วยงานภาครัฐ ดังนั้น ทางชมรมอสม.รพสต.บ้านตำเสา ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้ร่วมมือกับคณะ อสม.หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 5 และ 6 จัดทำโครงการสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุงขึ้น วึ่เป็นการแปรรูปสมุนไพรที่มีอยู้่แล้วในท้องถิ่นนำมาใช้ประโยชน์ในการไล่ยุงป้องกันยุง และแมลงอื่นๆ ประชาชนได้ใช้เสปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุงที่ปลอดสารพิษ ราคาถูก และยังสามารถทำได้เองในครัวเรือนเพื่อลดรายจ่ายในครอบครัวอีกด้วย ซึ่งคุณสมบัติของตะไคร้หอมมีหลายอย่าง เช่น ช่วยไล่ยุง ขับเหงื่อ เป็นยา สาระสำคัญในการออกฤทธิ์ไล่ยุงและแมลงของตะไคร้หอม มีการทดลองทางคลีนิค ใช้ในการไล่ยุง โดยทางคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล ได้ใช้ครีมที่มีส่วนผสมของน้ำมันหอมระเหยตะไคร้หอม 17% พบว่ามีฤทธิ์ไล่ยุงไดนาน 3 ชั่วโมง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ได้ทดลองประสิทธิภาพป้องกันยุงกัดของครีมที่ดีส่วนผสมตะไคร้หอม20 %พบว่ามีฤทธิ์ไล่ยุงได้นานประมาณ2 ชั่วโมง ขึ้นไป ในมะกรูดมีน้ำมันหอมระเหยอยู่มาก มีกลิ่นฉุน จึงสามารถนำไปไล่แมลงบางชนิดได้ เช่น มอด และมด ที่อยู่ในข้าวสารนอกจากนี้มะกรูดยังใช้ในการไล่ยุงและกำจัดลูกน้ำยุงลาย นำเปลือกมาตากแห้งและเผาไฟจะช่วยไล่ยุงได้ดี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 เฝ้าระวังควบคุมโรค ไข้เลือดออกในชุมชนเชิงปฏิบัติการ 0 15,450.00 -
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 ต่อยอดผลิตภัณฑ์ป้องกันยุง 0 11,760.00 -
รวม 0 27,210.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประยุกต์ใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ไล่ยุง ลดการใช้สารเคมี เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและป้องกนโรคไข้เลือดออดที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชนในปัจจุบัน และเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะของ อสม.ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการนำนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมกับสภาพปัยหาสาธารณสุขของพื้นที่ และเพื่่อก่อเกิดประโยชน์แก่ชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 เม.ย. 2564 00:00 น.