กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2564

รหัสโครงการ 64-L3070-1-7 รหัสสัญญา 11/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ตำบลยาบี (จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของรพ.สต.ยาบี)ปี2560พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 92.14 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 95 คน ร้อยละ 8.09 สงสัยป่วย 7 คน ร้อยละ 0.60 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 8 คน ร้อยละ 0.74 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 372 คน ร้อยละ 34.48 กลุ่มสงสัยป่วย 115 คน ร้อยละ 10.66 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 31 คน ร้อยละ 2.9 ตำบลยาบี (จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของรพ.สต.ยาบี)ปี2561พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปีขึ้นไปร้อยละ 98.40 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 174 คน ร้อยละ 13.62 สงสัยป่วย 15 ร้อยละ 1.17 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 6 คน ร้อยละ 0.55 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 379 คน ร้อยละ 32.31 กลุ่มสงสัยป่วย 98 คน ร้อยละ 8.35 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 16 คน ร้อยละ 1.36 ตำบลยาบี(จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี ปี 2562 พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 97.01 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 213 คน ร้อยละ 17.12 สงสัยป่วย 16 ร้อยละ 1.29 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 9 คน ร้อยละ 0.72 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 357 คน ร้อยละ 30.59 กลุ่มสงสัยป่วย 96 คน ร้อยละ 8.23 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 23 คน ร้อยละ 1.98

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ขั้นเตรียมการ
1.ประชุมทีมทำงานเจ้าหน้าที่และ อสม.เพื่อค้นหาปัญหาการคัดกรองที่ผ่านมาสรุปแนวทางการแก้ไข จัดทำโครงการ ขั้นดำเนินการ

2.วางแผนการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ที่มีภาวะเสี่ยงสูงประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ร่วมกับเจ้าหน้าที่และอสม.โดยการสร้างกระแสร่วมกันระหว่าง จนท. และอสม.

3.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 100 คน บรรยายเกี่ยวกับการดูแลตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส ทำอย่างไรให้ห่างไกลจากโรค

4.กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย

5.รายงานผลการดำเนินงานต่อที่ประชุมประจำเดือน สรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประจำเดือน สรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการพัฒนาต่อ

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 100 คน
(จัด 2 รุ่นๆละ 50 คน)

กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพและคัดกรองเบื้องต้น เช่น ตรวจวัดความดันโลหิตสูง และเจาะระดับน้ำตาลในเลือด บันทึกข้อมูลลงในสมุดประจำตัวของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูง เดือนละ 1 ครั้ง โดยกลุ่มเสี่ยงเเละกลุ่มเสี่ยงสูงประเมินตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี

กิจกรรมที่ 3 คืนข้อมูลสถานะทางสุขภาพของคนในชุมชน และให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 30 คน)

กิจกรรมที่ 4 อสม.ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดและประเมินระดับค่าความดันโลหิตสูง (ติดตาม 3 เดือนครั้ง จำนวน 2 ครั้ง)

กิจกรรมที่ 5 คัดเลือก อสม. ต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

พักผ่อนให้เพียงพอ ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขอนามัย ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขลักษณะอนามัย

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคย

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

-

-

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

ขั้นเตรียมการ
1.ประชุมทีมทำงานเจ้าหน้าที่และ อสม.เพื่อค้นหาปัญหาการคัดกรองที่ผ่านมาสรุปแนวทางการแก้ไข จัดทำโครงการ ขั้นดำเนินการ

2.วางแผนการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ที่มีภาวะเสี่ยงสูงประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ร่วมกับเจ้าหน้าที่และอสม.โดยการสร้างกระแสร่วมกันระหว่าง จนท. และอสม.

3.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 100 คน บรรยายเกี่ยวกับการดูแลตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส ทำอย่างไรให้ห่างไกลจากโรค

4.กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย

5.รายงานผลการดำเนินงานต่อที่ประชุมประจำเดือน สรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประจำเดือน สรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการพัฒนาต่อ

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

-

-

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-

-

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ