กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ตำบลฝาละมี ปี 2564
รหัสโครงการ 64-l3338-02-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.ตำบลฝาละมี
วันที่อนุมัติ 2 เมษายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 233,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวบุญพา พรหมแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ นายเสงี่ยม ศรีทวี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.371,100.261place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 500 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ในพื้นที่ตำบล ฝาละมี ได้รับการตรวจสุขภาพจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือผู้เชี่ยวชาญ

1.ทำให้ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่ตำบลฝาละมี ได้รับการตรวจสุขภาพจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือแพทย์

90.00
2 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรังได้รับความรู้เรื่องสุขภาพ มีทัศนคติที่ดี สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติในการทำงาน

.ทำให้ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรังได้รับความรู้เรื่องสุขภาพ มีทัศนคติที่ดี สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติในการทำงาน

90.00
3 3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีการเฝ้าระวังลดความเสี่ยง

3.ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรังได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ดีขึ้น

80.00
4 4 เพื่อส่งต่อประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ที่มีปัญหาสุขภาพเพื่อเข้ารับการรักษาที่ทันท่วงที

4.ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการส่งต่อ

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 500 233,000.00 0 0.00
7 เม.ย. 64 1 ประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในแต่ละเขตรับผิดชอบ 0 0.00 -
7 เม.ย. 64 2 คัดกรอง ตรวจสุขภาพเบื้องต้นแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเรื้อรัง 0 0.00 -
7 เม.ย. 64 3 อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการทำงานให้กับป่วยโรคเรื้อรัง 0 38,000.00 -
7 เม.ย. 64 4 ตรวจประเมินและคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ที่มีความเสี่ยงต่อการต่อการเกิดโรคต่างๆ 500 195,000.00 -
  1. สำรวจข้อมูลจำนวนประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง
  2. ประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในแต่ละเขตรับผิดชอบ
  3. คัดกรอง ตรวจสุขภาพเบื้องต้นแก่ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง
  4. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการทำงานให้กับประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง
  5. จัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุกและเฝ้าระวังโรคจากการทำงานในประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง          - ตรวจประเมินและคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพของประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ที่มีความเสี่ยงต่อการต่อการเกิดโรคต่างๆ จำนวน 500 คน โดยการตรวจประเมิน                                                                - การทำงานของไต                                                              - ระดับไขมันในเลือด                                                            - ตรวจเอกซเรย์ดูสภาพปอดและหัวใจ                                                    - เป็นต้น
  6. วิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำสภาวะสุขภาพของประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง
  7. จัดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและมีกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพร่วมกันของประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง
  8. ติดตามพฤติกรรมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ โดยอาสาสมัครสาธารณสุข
  9. สรุปและประเมินผลโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการตรวจประเมินและคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ
  2. ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง มีองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการทำงานและสามารถนำไปปฏิบัติและถ่ายทอดแก่ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ในพื้นที่ได้
  3. ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน โดยกระบวนการมีส่วนร่วมหน่วยบริการ
  4. ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการสนับสนุนให้มีการจัดการและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากการทำงานของทั้งในระดับบุคคลและระดับกลุ่ม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 เม.ย. 2564 11:02 น.