กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในกลุ่มเสี่ยง ”
ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายรุสลี ดะเก๊ะ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในกลุ่มเสี่ยง

ที่อยู่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3068-10(1) เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในกลุ่มเสี่ยง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในกลุ่มเสี่ยง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในกลุ่มเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3068-10(1) ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการแรงงานนอกระบบของประเทศไทย พ.ศ.2555 – 2559 ที่มีพันธกิจ เพื่อผลักดันให้เกิดการขยายความคุ้มครองสู่แรงงานนอกระบบครอบคุลมทุกกลุ่มอาชีพอย่างเท่าเทียมกัน ปรับปรุงและพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้อง พัฒนาสมรรถภาพและขยายโอกาสการมีงานทำเสริมสร้างแนวทางการเข้าถึงแหล่งงานและความยั่งยืนของอาชีพให้กับแรงงานนอกระบบ ส่งเสริมการรวมกลุ่มและการสร้างเครือข่าย พัฒนาส่งเสริม สนับสนุน สุขภาพความปลอดภัยในที่ทำงาน นอกจากนี้พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ พ.ศ.2542 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2549 ได้กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ดำเนินการเกี่ยวกับการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการพยาบาล อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลดังกล่าวล้วนเป็นภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพขั้นพื้นฐาน หรือการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมพื้นฐาน เพื่อการป้องกันโรคติดต่อและส่งเสริมการอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นนั้นๆ ขอบเขตการดำเนินกิจกรรมบริหารจัดการงานสาธารณสุขมูลฐานตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย การกำหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนางานสาธารณสุขของตำบลการจัดทำแผนการบริหารสถานีอนามัย การคัดเลือกและดูแลอาสาสมัครสาธารณสุขการจัดการงบประมาณ การจัดทำข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข ตำบลบางตาวาเป็นพื้นที่ติดกับทะเลโดยมีประชากรในพื้นที่ทั้งหมด 3,774 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 1 เดือนเมษายน 2562) ประกอบทั้งหมด 2 หมู่บ้าน มีสถานประกอบการกิจการต่างๆในพื้นที่ ดังนี้ สถานที่สะสมอาหารและจำหน่ายอาหารจำนวน 33 แห่ง กลุ่มอาชีพต่างๆ ในพื้นที่ เช่น กลุ่มอาชีพประมง, กลุ่มอาชีพรับจ้างเย็บอวนแปรรูปอาหารทะเล และกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เป็นต้น ซึ่งสถานที่ประกอบการต่างๆ ข้างต้น มีลูกจ้างทั้งที่เป็นแรงงานในระบบและนอกระบบในพื้นที่
โรคที่เกิดจากการทำงาน หรือโรคจากการประกอบอาชีพ เป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคลครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติเมื่อเกิดกับบุคคลที่อยู่ในวัยทำงานและมีบทบาทความรับผิดชอบสำคัญของครอบครัวย่อมส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อครอบครัวและสังคม ทั้งในทางเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดกับผู้ประกอบอาชีพเสี่ยงในพื้นที่ เช่นร้านอาหาร กลุ่มศิลปะประดิษฐ์อาชีพประมงเย็บอวน ซ่อมรถยนต์ แปรรูปอาหารทะเลเป็นต้น เพราะผู้ที่ประกอบอาชีพเหล่านี้เป็นเจ้าของกิจการเองไม่ได้รับค่าจ้างจากผู้อื่นในลักษณะของเงินเดือนหรือค่าแรงประจำ และรับผิดชอบต่อการดำเนินการทั้งในส่วนของกำไร หรือขาดทุน หากเกิดการเจ็บป่วยหรือประสบเหตุอันตรายไม่สามารถทำงานได้ ย่อมขาดรายได้ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในครัวเรือนและคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัว โรคจากการทำงาน หรือโรคจากการประกอบอาชีพคือโรคใดๆ (อาจเป็นได้ทั้งโรคเฉียบพลันหรือโรคเรื้อรัง) อันมีสาเหตุเนื่องมาจากการประกอบอาชีพ หรือการดำเนินกิจกรรมอื่นใดซึ่งเกี่ยวเนื่องกับอาชีพเช่นอาการปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อพิษจากสารตะกั่ว โรคทางเดินหายใจ เครียด เป็นต้น ดังนั้น เพื่อเป็นการสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับแรงงานในพื้นที่ สามารถนำข้อมูลดังกล่าวมาวางแผนพัฒนาเกี่ยวกับการดูแล ส่งเสริม และป้องกันโรคให้กับกลุ่มแรงงานนอกระบบตามอำนาจหน้าที่มาตรา ๖๗ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล(3) (๓) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อองค์การบริหารส่วนตำบลบางตาวาจึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจากการทำงานของผู้ประกอบอาชีพเสี่ยงในพื้นที่ เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคจากการทำงาน สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและลดความเสี่ยงจากการทำงานให้กับกลุ่มอาชีพดังกล่าว จึงจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในกลุ่มเสี่ยงขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดจำนวน(อสอช)ในพื้นที่ตำบลบางตาวา
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน
  3. เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ
  4. เพื่อให้แรงงานนอกระบบได้รับการดูแล ส่งเสริม และป้องกันโรคที่มาจาการประกอบอาชีพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจข้อมูลความเสี่ยง ภัยคุกตามจาการประกอบการอาชีพและตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น ค่าถ่ายเอกสารแบบสำรวจ
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
  3. อบรมเชิงปฏิบัติเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย(อสอช)
  4. กิจกรรมถอดบทเรียนและเวทีคืนข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดจำนวน(อสอช)ดูแลความเสี่ยงแรงงานนอกระบบในพื้นที่ที่มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัยเชิงรุกการประเมินความเสี่ยงความรอบรู้ด้านสุขภาพและการใช้แอพพลิเคชั่นในการสำรวจช้อมูล 2.เกิดมาตราการข้อตกลง ข้อเสนอนโยบายในการส่งเสริมป้องกันโรคเกิดจากการประกอบอาชีพ 3.กลุ่มประกอบอาชีพเสี่ยงในพื้นที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลดความเสี่ยงจาการโรคทีเกิดจากการประกอบอาชีพ 4.เกิดฐานข้อมูลกลุ่มประกอบอาชีพเสี่ยงในพื้นที่ตำบลบางตาวา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดจำนวน(อสอช)ในพื้นที่ตำบลบางตาวา
ตัวชี้วัด : เกิดจำนวน(อสอช)ดูแลความเสี่ยงแรงงานนอกระบบในพื้นที่
0.00 5.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน
ตัวชี้วัด : เกิดจำนวนมาตรการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน เพิ่มขึ้น
0.00 2.00

 

3 เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ40ของแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ ลดลง
50.00 20.00

 

4 เพื่อให้แรงงานนอกระบบได้รับการดูแล ส่งเสริม และป้องกันโรคที่มาจาการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ40แรงงานนอกระบบได้รับการดูแลส่งเสริม และป้องกันโรคที่มาจาการประกอบอาชีพ
50.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดจำนวน(อสอช)ในพื้นที่ตำบลบางตาวา (2) เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน (3) เพื่อลดจำนวนแรงงานนอกระบบที่เจ็บป่วย จากการประกอบอาชีพ (4) เพื่อให้แรงงานนอกระบบได้รับการดูแล ส่งเสริม และป้องกันโรคที่มาจาการประกอบอาชีพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูลความเสี่ยง ภัยคุกตามจาการประกอบการอาชีพและตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น ค่าถ่ายเอกสารแบบสำรวจ (2) อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ (3) อบรมเชิงปฏิบัติเพื่อจัดตั้งอาสาสมัครอาชีวอนามัย(อสอช) (4) กิจกรรมถอดบทเรียนและเวทีคืนข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพในกลุ่มเสี่ยง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3068-10(1)

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรุสลี ดะเก๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด