กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน


“ โครงการรณรงค์ลดการใช้สารเคมีในการปลูกผักในกลุ่มเกษตรกรเทศบาลตำบลบ้านสวน ปี 2564 ”

ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางกัญญาภัค สว่างรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ลดการใช้สารเคมีในการปลูกผักในกลุ่มเกษตรกรเทศบาลตำบลบ้านสวน ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3325-2-1 เลขที่ข้อตกลง 43/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กรกฎาคม 2564 ถึง 30 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ลดการใช้สารเคมีในการปลูกผักในกลุ่มเกษตรกรเทศบาลตำบลบ้านสวน ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ลดการใช้สารเคมีในการปลูกผักในกลุ่มเกษตรกรเทศบาลตำบลบ้านสวน ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ผู้สัมผัส มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันตนเองจากการได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย (2) เพื่อให้เกษตรกรมีอาหารบริโภคที่ปลูกเองไม่ใช้สารเคมี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะทำงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์(เดินรณรงค์) (4) แบบสำรวจการใช้สารเคมีในการปลูกผักในกลุ่มเป้าหมาย ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ (5) ถอดบทเรียนและสรุปโครงการ คืนข้อมูล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ในกลุ่มเกษตรกรอื่นๆเพิ่มขึ้นโดยเพิ่มจำนวนกลุ่มเป้าหมายให้มากขึ้นด้วย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชากรไทยมีอาชีพพื้นฐานอยู่ในภาคเกษตรกรรม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบผู้มีรายได้น้อย แต่ทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพจากสภาพภูมิอากาศที่ร้อนจัด ท่าทางการทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการปวดหลังและกล้ามเนื้ออักเสบ รวมทั้งการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมีพิษทั้งแบบเฉียบพลัน และเรื้อรังตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิตขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษ และปริมาณที่ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู้ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนังที่ไม่สวมถุงมือและรองเท้าบู๊ท ป้องกันขณะทำงานกับสารเคมี การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศ และการรับประทานอาหารและดื่มน้ำที่มีสารเคมีปนเปื้อน พฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยทำให้เกษตรกรมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีเพิ่มขึ้นยกตัวอย่างเช่น ใช้ถังภาชนะบรรจุสารเคมีที่รั่วซึม ฉีดพ่นสวนทิศทางลมทำให้เสื้อผ้าเปียกชุ่มสารเคมีโดยไม่อาบน้ำและเปลี่ยนเสื้อผ้าที่ซึมเปื้อนทันที เป็นต้นสารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู้ร่างกาย ทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมาเช่นโรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ เป็นต้น เทศบาลตำบลบ้านสวนเป็นตำบลหนึ่ง ที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตร มากถึงร้อยละ 70 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ ทำสวนยางพาราและสวนปาล์มน้ำมัน ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช คาดว่ากระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังไม่ได้รับการประเมินภาวะเสี่ยง ผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกรว่าอยู่ในระดับใด ประกอบกับเกษตรกรในตำบลใดที่ ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธี และขาดความรู้จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั่นเทศบาลตำบลบ้านสวน จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ลดการใช้สารเคมีในการปลูกผักของเกษตรกรขึ้นเพื่อให้เกษตรกรในเทศบาลตำบลบ้านสวน ได้ตระหนักถึงอันตรายของสารเคมีที่อาจตกค้างในผักชนิดต่างๆ มีผลทำให้เกิดมีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดของผู้บริโภค และจะได้มีเครือข่ายในการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ผู้สัมผัส มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันตนเองจากการได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
  2. เพื่อให้เกษตรกรมีอาหารบริโภคที่ปลูกเองไม่ใช้สารเคมี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  3. กิจกรรมลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์(เดินรณรงค์)
  4. แบบสำรวจการใช้สารเคมีในการปลูกผักในกลุ่มเป้าหมาย ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
  5. ถอดบทเรียนและสรุปโครงการ คืนข้อมูล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงคัดมาจาก ม.1-9 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกษตรกรได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันอันตรายจากสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย 2.ประชาชนทราบอันตรายของสารเคมี ลดพฤติกรรมการใช้สารเคมีลง 3. ประชาชนมีอาหารปลอดสารพิษเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน

วันที่ 6 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่อนามัย ผู้ใหญ่บ้าน เจ้าหน้าที่กองทุน จำนวน 10 คน ณ ห้องประชุมฟื้นฟูผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลบ้านสวน เพื่อชี้เเจงการทำโครงการ รายละเอียดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ จำนวน 10 คน

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 20 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรโดยวิทยากรให้ความรู้โครงการรณรงค์ลดการใช้สารเคมีในการปลูกผักในกลุ่มเกษตรกร ทต.บ้านสวน ปี 2564  กลุ่มเกษตรกรหมู่ที่ 1-9 จำนวน 35 คน โดยมีการตอบเเบบสำรวจก่อน-หลัง อบรม - ให้ความรู้เรื่องการปลูกผัก การบำรุงรักษา - อันตรายจากการใช้สารเคมีในการปลูกผัก - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การลดการใช้สารเคมีในการปลูกผัก - การสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปลูกผัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนกลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 35 คน เกษตรกรมีความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรม จากแบบทดสอบการอบรม

 

0 0

3. กิจกรรมลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์(เดินรณรงค์)

วันที่ 20 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด เจ้าหน้า วิทยากร เดินรณรงค์การลดการใช้สารเคมีในกลุ่มเกษตรกร ณ รพ.สต.บ้านดอนศาลาและลงเยี่ยมบ้านตัวอย่างปลูกผักปลอดสารพิษ คุณครูบุญช่วย หมู่ที่ 8 ตำบลมะกอกเหนือ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 35คน ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน ได้เห็นตัวอย่างพื้นที่จริงปลูกผักปลอดสารพิษ

 

0 0

4. แบบสำรวจการใช้สารเคมีในการปลูกผักในกลุ่มเป้าหมาย ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ

วันที่ 20 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

แบบสำรวจการใช้สารเคมีในการปลูกผักในกลุ่มเป้าหมาย ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ โดยผู้เข้าร่วมโครงการต้องทำแบบสำรวจดังกล่าวทุกคน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูลการปฏิบัติจริงของแต่ละบุคคลก่อนอบรม หลังอบรมประเมินความรู้ผู้อบรมได้รับมากขึ้น

 

0 0

5. ถอดบทเรียนและสรุปโครงการ คืนข้อมูล

วันที่ 29 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานสรุปผลงานที่ได้หลังอบรม ความต้องการในการปลูกผักและแนวโน้มการใช้สารเคมีในกลุ่มเกษตรกรในอนาคต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้สรุปงานโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ผู้สัมผัส มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันตนเองจากการได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
ตัวชี้วัด : เกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ผู้สัมผัส มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันตนเองจากการได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายร้อยละ 80
3.00 30.00

 

2 เพื่อให้เกษตรกรมีอาหารบริโภคที่ปลูกเองไม่ใช้สารเคมี
ตัวชี้วัด : เกษตรกรเข้าร่วมโครงการทุกคนปลูกผักไว้บริโภคเอง
3.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงคัดมาจาก ม.1-9 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ผู้สัมผัส มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันตนเองจากการได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย (2) เพื่อให้เกษตรกรมีอาหารบริโภคที่ปลูกเองไม่ใช้สารเคมี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมคณะทำงาน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์(เดินรณรงค์) (4) แบบสำรวจการใช้สารเคมีในการปลูกผักในกลุ่มเป้าหมาย ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ (5) ถอดบทเรียนและสรุปโครงการ คืนข้อมูล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ในกลุ่มเกษตรกรอื่นๆเพิ่มขึ้นโดยเพิ่มจำนวนกลุ่มเป้าหมายให้มากขึ้นด้วย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ลดการใช้สารเคมีในการปลูกผักในกลุ่มเกษตรกรเทศบาลตำบลบ้านสวน ปี 2564

รหัสโครงการ 64-L3325-2-1 รหัสสัญญา 43/2564 ระยะเวลาโครงการ 6 กรกฎาคม 2564 - 30 กรกฎาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

กลุ่มเกษตรกรทราบวิธีการทดแทนการใช้สารเคมี ทราบวิธีการทำยาฉุนใช้ไล่แมลง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เกิดกระบวนการเรียนรู้ใหม่ การรวมกลุ่ม การเล่าประสบการณ์ในการแก้ปัญหาในการปลูกผัก ผลไม้ต่างๆในกลุ่ม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

เกิดการตระหนักกลัวการได้รับสารเคมีเพิ่มในร่างกาย ทุกคนเริ่มกลัวโรคภัยจากสารเคมีเพิ่มขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

เกษตรกรจะนำเมล็ดพันธ์ุผักไปปลูกรับประทานในครัวเรือนเองโดยไม่ใช้ปุ๋ยเคมี ใช้ปุ๋ยคอกแทน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

เกษตรกรใช้การกำจัดหอยทากโดยนำมาทำน้ำหมักไว้รถต้นไม้ เกิดภูมิปัญญาชาวบ้าน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

มีการใช้ทรัพยากรมีอยู่ลดต้นทุนการปลูกผัก ขายผักเพิ่มรายได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการทำงานร่วมกันในกลุ่มเกษตรกร เมื่อลดใช้สารเคมี ไม่ต้องเจาะสารพิษในร่างกายบ่อยๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

เกษตรกรรู้สึกภูมิใจที่เป็นส่วนหนึ่งลดใช้สารเคมี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการรณรงค์ลดการใช้สารเคมีในการปลูกผักในกลุ่มเกษตรกรเทศบาลตำบลบ้านสวน ปี 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3325-2-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกัญญาภัค สว่างรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด