กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุแบบองค์รวมปี ๒๕๖๔ ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายวิวัตน์ เสนาทิพย์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุแบบองค์รวมปี ๒๕๖๔

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3306-2-20 เลขที่ข้อตกลง 27/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 เมษายน 2564 ถึง 20 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุแบบองค์รวมปี ๒๕๖๔ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุแบบองค์รวมปี ๒๕๖๔



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุแบบองค์รวมปี ๒๕๖๔ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2564-L3306-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 เมษายน 2564 - 20 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,094.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่งเนื่องจาก ผ่านประสบการณ์มามาก ได้เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการให้การดูแล  ผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี สุขภาพจิต มีปัญหาด้านโรคเรื้อรังน้อยลง มีสุขภาพกายที่ดีเป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

ผู้สูงอายุจะมีปัญหาสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจและโรคต่างๆ ซึ่งพบได้บ่อยกว่าในวัยอื่น ๆ ปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ความเสื่อมของสติปัญญา  ภาวะซึมเศร้า เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุโดยเฉพาะผู้ที่มีโรคเรื้อรังทางกาย ขาดสมรรถภาพและขาดความเอาใจใส่จากญาติพี่น้อง ผู้ป่วยจะมีอาการหลายอย่าง ได้แก่ ความผิดปกติของการนอน ขาดความสนใจ รู้สึกผิด ขาดสมาธิ เบื่ออาหาร ถ้ามีอาการรุนแรงอาจมีความคิดฆ่าตัวตายอาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้ การอักเสบของทางเดินปัสสาวะ ช่องคลอดหรือทางเดินปัสสาวะฝ่อและอักเสบ และผลข้างเคียงของการใช้ยาและรักษาหลายโรค การหกล้ม โดยเฉพาะเพศหญิง อัตราการหกล้มสูงถึง 30% ในแต่ละปีและสัดส่วนจะสูงขึ้นตามอายุการทรงตัวจะเสียไปทำให้หกล้มได้ง่าย การเคลื่อนไหวลำบาก อันเนื่องจากการปวดอ่อนแอ การเสียการทรงตัว และปัญหาทางจิตทำให้ผู้สูงอายุต้องนอนอยู่เฉยๆผลกระทบจากการใช้ยา ด้วยเหตุผลหลายประการทำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสจะมีผลข้างเคียงจากการใช้ยามากกว่าคนทั่วไป 2-3 เท่า การกำจัดของเสียในร่างกายช้าลงมาก เนื่องจากการทำงานของไตและตับเสื่อมลง จะเห็นได้ว่าผู้สูงอายุมีปัญหาด้านสุขภาพที่ต้องได้รับการดูแล ดังนั้นผู้สูงอายุควรได้รับการตรวจสมรรถภาพร่างกายผู้สูงอายุ และการตรวจสุขภาพอย่างสม่ำเสมอและเมื่อพบโรคหรือความผิดปกติต่างๆ ควรรับการตรวจรักษาและดูแลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงเหมาะสมกับวัย

ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุแบบองค์รวม ปี ๒๕๖๔ เพื่อส่งเสริมความรู้สร้างทักษะด้านการส่งเสริมสุขภาพตนเองที่ถูกต้องเหมาะสมแข็งแรงทั้งสุขภาพกายสุขภาพใจทำให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑เพื่อสร้างแกนนำการดำเนินงานผู้สูงอายุในชุมชน
  2. ข้อที่ ๒เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ รายบุคคล
  3. ข้อที่ ๓เพื่อจัดทำทะเบียนผู้สูงอายุ แยกรายกลุ่ม
  4. ข้อที่ ๔เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง ในทุกๆด้าน
  5. ข้อที่ ๕เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านร่างกาย และจิตใจ ได้รับการดูแลและช่วยเหลือ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมแกนนำในการดำเนินโครงการ
  2. อบรมเพื่อตรวจประเมินสุขภาพฯ
  3. ประชุมวางแผนฯ
  4. ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ
  5. ประชุมติดตาม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านคู  ได้รับความรู้ การสร้างทักษะด้านการส่งเสริมสุขภาพตนเองที่ถูกต้องเหมาะสมแข็งแรงทั้งสุขภาพกายสุขภาพใจ ได้รับการดูแลด้านร่างกาย และจิตใจ เพื่อการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ที่ภาคภูมิ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมแกนนำในการดำเนินโครงการ

วันที่ 15 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมแกนนำในการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำในการดำเนินโครงการมีความรู้ความเข้าใจและได้รับการดูแล

 

100 0

2. อบรมเพื่อตรวจประเมินสุขภาพฯ

วันที่ 19 พฤษภาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเพื่อตรวจประเมินสุขภาพฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าอบรมได้ตรวจประเมินสุขภาพฯ

 

627 0

3. ประชุมวางแผนฯ

วันที่ 22 มิถุนายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวางแผนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รูแผนงานและวิธีการดำเนินงาน

 

60 0

4. ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ

วันที่ 30 มิถุนายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผูเข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพมากขึ้น

 

500 0

5. ประชุมติดตาม

วันที่ 13 กรกฎาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามการตรวจสุขภาพ

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑เพื่อสร้างแกนนำการดำเนินงานผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.มีแกนนำผู้สูงอายุในการดำเนินงานในชุมชน
0.00

 

2 ข้อที่ ๒เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ รายบุคคล
ตัวชี้วัด : 2.ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพทั้ง 10ด้าน ไม่ น้อยกว่าร้อยละ ร้อยละ 80
0.00

 

3 ข้อที่ ๓เพื่อจัดทำทะเบียนผู้สูงอายุ แยกรายกลุ่ม
ตัวชี้วัด : ๓. มีทะเบียนผู้สูงอายุ แยกรายกลุ่ม ทั้ง ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มติดสังคม ติดบ้าน และติดเตียง
0.00

 

4 ข้อที่ ๔เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง ในทุกๆด้าน
ตัวชี้วัด : ๔. ผู้สูงอายุได้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

5 ข้อที่ ๕เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านร่างกาย และจิตใจ ได้รับการดูแลและช่วยเหลือ
ตัวชี้วัด : ๕. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแล และส่งต่อเพื่อ การรักษาทุกราย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑เพื่อสร้างแกนนำการดำเนินงานผู้สูงอายุในชุมชน (2) ข้อที่ ๒เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ รายบุคคล (3) ข้อที่ ๓เพื่อจัดทำทะเบียนผู้สูงอายุ แยกรายกลุ่ม (4) ข้อที่ ๔เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง ในทุกๆด้าน (5) ข้อที่ ๕เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านร่างกาย และจิตใจ ได้รับการดูแลและช่วยเหลือ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำในการดำเนินโครงการ (2) อบรมเพื่อตรวจประเมินสุขภาพฯ (3) ประชุมวางแผนฯ (4) ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (5) ประชุมติดตาม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุแบบองค์รวมปี ๒๕๖๔ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3306-2-20

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิวัตน์ เสนาทิพย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด