กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันสารเสพติดในสถานศึกษา
รหัสโครงการ 64-L1487-2-7
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านสุโสะ
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุนันทา ชัยศิริ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.236,99.673place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 17 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 8 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่โรงเรียนบ้านสุโสะเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม ได้เล็งเห็นความสำคัญของผลกระทบที่เกิดขึ้น      ต่อนักเรียน ครอบครัว และสังคม นั่นคือสารเสพติด สารเสพติดในยุคปัจจุบันที่มีมากกว่าร้อยชนิด มีทั้งที่สามารถวางขายได้ถูกต้องตามกฎหมาย และจัดอยู่ในสารเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง ซึ่งการจัดประเภทนั้นจะขึ้นอยู่      กับอันตรายที่ส่งผลต่อสุขภาพตัวเองและผู้อื่น ดังนั้นโรงเรียนจึงจัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ แก่นักเรียนแล้วยังต้องมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพพลานามัยให้สมบูรณ์อยู่เสมอ แต่ในสภาพปัจจุบันปัญหา ยาเสพติดซึ่งมาในรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ แพร่หลายเข้าไปสู่เยาวชนและสถานศึกษามากยิ่งขึ้น ทางโรงเรียน จึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดดังกล่าวมิให้เกิดขึ้นในโรงเรียน ทางโรงเรียนได้นำเสนอโครงการ “ป้องกันสารเสพติดในสถานศึกษา” เพื่อป้องกันและให้ความรู้แก่นักเรียน  และผู้ปกครองในชุมชนโรงเรียนบ้านสุโสะ โดยจะของบสนับสนุนจาก สปสช.ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงให้แก่นักเรียน

ร้อยละของภูมิคุ้มกันทางด้านสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงให้แก่นักเรียน

100.00
2 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจที่เข้มแข็งให้แก่นักเรียน

ร้อยละของภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจที่เข้มแข็งให้แก่นักเรียน

100.00
3 เพื่อสร้างความตระหนักด้านมหันตภัยของยาเสพติดในระดับประเทศ

ร้อยละของมหันตภัยของยาเสพติดในระดับประเทศ

100.00
4 เพื่อสร้างความตระหนักด้านมหันตภัยของยาเสพติดในระดับสถานศึกษา

ร้อยละของมหันตภัยของยาเสพติดในระดับสถานศึกษา

100.00
5 เพื่อปฏิบัติกิจกรรม ป้องกัน เฝ้าระวัง ยาเสพติดทั้งในสถานศึกษา

ร้อยละของกิจกรรม ป้องกัน เฝ้าระวัง ยาเสพติดทั้งในสถานศึกษา

100.00
6 เพื่อร่วมรณรงค์ ต่อต้าน และป้องกัน ยาเสพติดอย่างในชุมชน

ร้อยละของการร่วมรณรงค์ ต่อต้าน และป้องกัน ยาเสพติดอย่างในชุมชน

100.00
7 เพื่อสนองตอบนโยบายรัฐบาลเกี่ยวกับยาเสพติด

ร้อยละของการสนองตอบนโยบายรัฐบาลเกี่ยวกับยาเสพติด

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 40 10,000.00 0 0.00
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 อบรมโครงการป้องกันสารเสพติดในสถานศึกษา 40 10,000.00 -

1 สำรวจนักเรียน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มปลอดยาเสพติด กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการติดยาเสพติดและกลุ่มที่ติดยาเสพติดแล้ว 2 ประสานงานติดต่อกับทางบ้าน หาข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัยของนักเรียน 3 ประชุมร่วมมือ หลายฝ่ายโดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
4 สถานศึกษาจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด   1) กิจกรรมกีฬาต้านยาเสพติด   2) กิจกรรมวาดภาพระบายสี การป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด   3) กิจกรรมใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ( ปลูกต้นไม้ , อนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ ปล่อยปู ฯ )   4) กิจกรรมในโครงการครู D.A.R.E. หรือชื่อภาษาอังกฤษคือ Drug Abuse Resistance Education เป็นข้อตกลงร่วมในเรื่อง "การให้การศึกษาเพื่อต่อต้านการใช้ยาเสพติดในสถานศึกษา" ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยสำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.)  โดยการนำเจ้าหน้าที่ตำรวจเข้าไปเป็นครูสอนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นครูจริงๆ มีชั่วโมงสอนทั้งเทอมเพื่อสร้างเครือข่ายในการป้องกันยาเสพติดในโรงเรียนและพื้นที่ใกล้เคียง 5 ประสานงานกับผู้นำชุมชน ศูนย์สาธารณสุขในพื้นที่ จัดตั้งเครือข่ายการเฝ้าระวังยาเสพติด

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 นักเรียนมีพลานามัยสมบูรณ์ 2 ผลการเรียนของนักเรียนดีขึ้น 3 เป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบ้านกับโรงเรียน 4 โรงเรียนเป็นสถานที่ที่ปลอดยาเสพติด

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 เม.ย. 2564 11:58 น.