กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2564
รหัสโครงการ 64-L5231-1-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนรู
วันที่อนุมัติ 29 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 1 กันยายน 2564
งบประมาณ 41,532.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอุสนะห์ หมัดศิริ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.183,100.313place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
60.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

60.00 90.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

60.00 90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 1160 41,532.00 0 0.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมการเฝ้าระวังกลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานดันโลหิตสูง 1,000 31,000.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมสัญจรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 70 6,082.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมเฝ้าระวังการตรวจภาวะแทรกซ้อนของโรค HT-DM 90 4,450.00 -

วิธีดำเนินการ
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการเฝ้าระวังกลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานดันโลหิตสูง - ดำเนินการเฝ้าระวังในพื้นที่ทั้ง 4 หมู่ในเขตรับผิดชอบ โดยมี อสม. และเจ้าหน้าที่ร่วมในการดำเนินการเฝ้าระวัง กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสัญจรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ใน ๑ หมู่บ้าน โดยแยกอบรมครั้งละ 1 หมู่บ้าน - ติดตามกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองโดยอสม. และเจ้าหน้าที่ ลงติดตามซ้ำในรายที่ไม่สามารถควบคุมระดับความเสี่ยงได้ - สุ่มติดตามกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง - ส่งต่อพบแพทย์ในกลุ่มเสี่ยงสูงผู้ที่มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดและ/ความดันโลหิตสูง - ดำเนินการจัดหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤตกรรม ๑ หมู่บ้านในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนในชุมชนโดยเจ้าหน้าที่ จะลงประเมินผลงานในพื้นที่ หมู่บ้าน ซึ่งหมู่บ้านจะต้องดำเนินกิจกรรมการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดทั้งปี - ดำเนินการจัดการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของคนในหมู่บ้าน - ดำเนินการจัดสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพของคนในหมู่บ้าน กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนของโรค HT-DM - ดำเนินการตรวจตาด้วยเครื่อง fundus - ดำเนินการตรวจเท้า - ดำเนินการตรวจฟัน - ดำเนินการเจาะเลือดประจำปี นิเทศ ติดตามสนับสนุน ประเมินผล และสรุปผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการเฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมาตรฐานตามเกณฑ์ 2. กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง 3. อัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง 4. หมู่บ้านเป้าหมายสามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคMetabolicได้ถูกต้อง เหมาะสมโดยใช้กระบวนการชุมชนเป็นฐาน และหมู่บ้านมีความเข้มแข็ง สามารถสร้างมาตรการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชนเองได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 เม.ย. 2564 13:25 น.