กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจสารพิษตกค้างในเลือดของเกษตรกรบ้านบันนังกระเเจะอายุตั้งแต่15ปี ขึ้นไป ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
รหัสโครงการ 64-L4119-2-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ที่ทำการหมู่บ้านบันนังกระเเจะ
วันที่อนุมัติ 5 เมษายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 34,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาววราภรณ์ เงินราษฎร์
พี่เลี้ยงโครงการ -
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.167,101.187place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากในปัจจุบันพบว่าเกษตรกร มรการใช้สารเคมีในการเกษตรเพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อตัวเกษตรกรเอง รวมไปถึงสารเคมีปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม อันมีผลกระทบดังนี้ 1. มีสารตกค้างในร่างกายเกษตรกร สารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ สุขภาพอ่อนแอ ทำให้เกิดโรค อาทิ โรคทางเดินหายใจ โรคมะเร็ง โรคตับและไต 2. เกษตรขาดรายได้ เนื่องจากหยุดงานเพื่อไปหาหมอรักษาโรค ทำให้ขาดรายได้ คิดประเมินได้ดังนี้ เกษตรกร 1 คนต้องใช้จ่ายเงินเพื่อรักษาเฉลี่ยครั้งละ 1,000 บาท/ครั้ง/คน ถ้าเกษตรกรไปหาหมอ เดือนครั้ง 1,000 x 12 = 12,000 บาท/คน/ปี เกษตรกร 1 คน ขาดรายได้วันละ 300 บาท/วัน/คน ถ้า 1 เดือน เกษตรกรทำงานได้ 20 วัน = 20 x 300 = 6,000 บาท/คน/เดือน ถ้า 1 ปี 6,000 x 12 = 72,000 บาท/คน/ปี ซึ่งรวมค่าใช้จ่ายและขาดรายได้แล้ว ส่งผลกระทบด้านเศรษฐกิจแก่เกษตรกรดังนี้ค่าหมอแต่ละครั้ง + ขาดรายได้ = 12,000 + 72,000 = 84,000 บาท/คน/ปี       ถ้าเกษตรกรเป้าหมาย 50 คน 50x84000=4,200,000 บาท/ปี 3. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น น้ำปนเปื้อนสารพิษ ดินเสื่อมคุณภาพ อากาศเป็นพิษ และกระทบต่อระบบนิเวศน์ของพืชและสัตว์

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและใช้สารเคมีอย่างถูกวิธี

ครอบครัวเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงจำนวน ร้อยละ 70 ใช้สารเคมีในการเกษตรอย่างถูกต้องและเหมาะสม

0.00
2 เพื่อตรวจสารพิษในร่างกายเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ครอบครัวเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีสารพิษในร่างกายลดลง ร้อยละ 50

ครอบครัวเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงมีสารพิษในร่างกายลดลง ร้อยละ 50

0.00
3 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรเเละคนในชุมชนปลูกผักกินเอง

ครอบครัวเกษตรกรเเละคนในชุมชน สามารถปลูผักกินเอง ร้อยละ50

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.คณะกรรมการโครงการจัดประชุม เพื่อทำแผนในการทำกิจกรรมโครงการตรวจสารพิษตกค้างในเลือดของเกษตรกรชาวบันนังกระเเจะอายุตั้งเเต่ 15 ปีขึ้นไป ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัด ยะลา 2.การชี้เเจ้งโครงการความมั่งคงทางอาหารเเละอาหารปลอดภัยโดยดำเนินการในครอบครัวกลุ่มเสี่ยง113 ครัวเรือน 2.1 โดยมีการตรวจสารพิษในเลือด 2.2 มีการเก็บข้อมูลผลการตรวจสารเคมีในเลือดโดย อสม.โรงพยาบาลธารโตเเละสำนักงานสาธารณสุขอำเภอธารโต จังหวัดยะลา 2.3 คณะกรรมการโครงการจัดประชุม มาคิดกิจกรรมและวางแผนในทำกิจกรรม ด้านความมั่นคงทางอาหารเเละการจัดการด้านความปลอดภัยของอาหารในชุมชน 3. วิเคราะห์ข้อมูลการตรวจเลือดและจัดทำแผนส่งเสริมสุขภาพในชุมชน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ครอบครัวเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและใช้สารเคมีอย่างถูกวิธี
  2. ตรวจสารพิษในร่างกายเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง
  3. เกษตรกรคนในชุมชนปลูกผักกินเอง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 เม.ย. 2564 08:56 น.