กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดภัย ปลอดโรค ประจำปี 2560 ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางกัญญาภัค ยอดเมฆ

ชื่อโครงการ โครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดภัย ปลอดโรค ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4117-1-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2559 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดภัย ปลอดโรค ประจำปี 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดภัย ปลอดโรค ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดภัย ปลอดโรค ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4117-1-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2559 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพดี เป็นเป้าหมายสูงสุดของมวลมนุษยชาติซึ่งหากประเทศชาติใดประชาชนมีสุขภาพดีย่อมส่งผลให้ประเทศนั้นมีความเจริญมั่นคง ทั้งทางด้านเศรษฐกิจการปกครองเทคโนโลยีและความเป็นผู้นำของโลกการที่ประชาชนมีสุขภาพที่ดีจึงมีความสำคัญและเป็นพื้นฐานของการพัฒนาในด้านต่างๆความเจ็บป่วยของประชาชนในปัจจุบันแบ่งออกเป็นป่วยด้วยโรคติดต่อ และป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งโรคติดต่อที่สำคัญและเป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลบาละ ประกอบด้วย โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคระบบทางเดินหายใจวัณโรคเป็นต้นส่วนโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้แก่ โรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ และเจ็บป่วยด้วยอุบัติเหตุอุบัติภัย เป็นต้น
โรคติดต่อ มีปัจจัยองค์ประกอบของการเกิดโรค ประกอบด้วยบุคคลเชื้อโรค พาหนะนำโรค และสิ่งแวดล้อมซึ่งในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จะต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าว ไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค คือบุคคล ต้องมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์เชื้อโรคต้องไม่มีหรือมีจำนวนน้อย พาหนะนำโรคไม่มีหรือมีน้อยและที่สำคัญคือสิ่งแวดล้อม ต้องถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลต้องสะอาดถูกสุขลักษณะจึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค และการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อม ให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในทุกหมู่บ้าน/ทุกชุมชนทำได้ปฏิบัติได้ในวิถีชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคลแต่ละหลังคาเรือน ซึ่งหมู่บ้านใดชุมชนใดมีการปรับปรุงรักษาความสะอาดของที่พักอาศัยให้ได้มาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง ก็จะเป็นการป้องกันโรคติดต่อต่างๆในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้นๆมีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อดังกล่าว ซึ่งการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อจะได้ผลจะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกคน ทุกหลังคาเรือน ทุกภาคส่วนจึงจะได้ผลอย่างยั่งยืน
องค์การบริหารส่วนตำบลบาละ จึงได้จัดทำโครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดภัย ปลอดโรคขึ้น เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดและร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านในที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน ซึ่งถ้าหมู่บ้าน/ชุมชนมีความสะอาดแล้วโรคติดต่อต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชนก็จะลดลงได้เป็นอย่างมากส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ส่งผลให้มีภาวะเศรษฐกิจที่ดีต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ
  2. ๒. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
  3. ๓. เพื่อประกาศเกียรติคุณหมู่บ้าน/ ชุมชน ที่ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อโดยการรักษาความสะอาดของหมู่บ้านเชิดชูเกียรติให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบเป็นตัวอย่างที่ดีในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและส่งเสริมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ร้อยละ 80ประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดใน บ้านเรือนชุมชนของตนเอง
      2.ร้อยละ70 เกิดกิจกรรมปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้นำชุมชน อสม และผู้ที่เกี่ยวข้อง

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มแกนนำ มีความรู้ความเข้าใจ แล่ให้ความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อม

     

    30 30

    2. ให้ความรู้เรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อม

    วันที่ 15 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนให้ความร่วมมือในการดูแลสิ่งแวดล้อมและให้ถูกสุขลักษณะ

     

    120 120

    3. รณรงค์ทำความสะอาด

    วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดมุมมองในการจัดการดูแลบ้านเรือนตนเองและคนรอบข้าง

     

    120 120

    4. ตรวจประเมิน ประเมินผลโครงการ

    วันที่ 29 กันยายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมประเมินมีการบริหารและให้คำแนะนำในการจัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ

     

    10 10

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    รายงานผลการดำเนินงาน 1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม “.โครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดโรค ปลอดภัย” ณ. ห้องประชุม องค์การบริหารส่วนตำบลบาละ อำเภอกาบัง    จังหวัดยะลา

    1. ผลการดำเนินงาน กิจกรรม วันที่ดำเนินการ ผู้เข้าร่วม 1.ประชุมชี้แจง/อบรมให้ความรู้แก่ผู้นำชุมชน, อสม.และผู้เกี่ยวข้อง 27 ก.ค. 60 30
    2. อบรมให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ  ปลอดภัย ปลอดโรค 15 ส.ค.60 120 3.กิจกรรมการรณรงค์ทำความสะอาดหมู่บ้าน/ ที่พักอาศัย 16. ส.ค. 60 120 4.ตรวจเยี่ยม/ประเมินผลหมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการ 22 ส.ค.60 10

    3. ความคุ้มค่าในการจัดโครงการ/กิจกรรม

      ประมาณการค่าใช้จ่าย 50,000 บาท   ค่าใช้จ่ายจริง 36,962 บาท  คงเหลือ  12,038 บาท ความคุ้มค่าในการจัดโครงการ/กิจกรรม (อธิบาย)  ประชาชนในตำบลบา มีความรู้ในเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ  ปลอดภัย ปลอดโรค และให้วามร่วมมือในการรณรงค์ทำความสะอาดหมู่บ้าน ส่งผลให้เกิดหมู่บ้านต้นแบบในระดับตำบล

    4. ผลที่ได้รับจากโครงการ ๑. ประชาชนมีความรู้  มีความตระหนัก  และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของ ตนเอง  ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ

    5. มีการการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ๓. หมู่บ้านต้นแบบเป็นตัวอย่างที่ดีในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและส่งเสริมสุขภาพ

    6. การประเมินผลสำเร็จของโครงการ  มีการดำเนินงานตามแผน คือ แผน....................................................
       ไม่มีการดำเนินงานตามแผน  เป็นไปตามกำหนดเวลา
       ไม่เป็นไปตามกำหนดเวลา เพราะ เลื่อนจากวันที่..............................เป็นวันที่...........................  ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ  มีการติดตามและประเมินผล

    7. ประเมินผลการบรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ที่กำหนด (เชิงคุณภาพ, เชิงปริมาณ)  เชิงคุณภาพ คือ ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ เท่ากับ ......... (ระดับ.....)  บรรลุเป้าหมาย  ไม่บรรลุเป้าหมาย เนื่องจาก.............................................  เชิงปริมาณ คือ ผู้เข้าร่วมโครงการทุกกิจกรรม จำนวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย (150คน)  บรรลุเป้าหมาย  ไม่บรรลุเป้าหมาย เนื่องจาก.............................................

    8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข (จากสรุปผลประเมินโครงการ) การดำเนินงานโครงการ ในบางกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการได้ครอบคลุม เช่น การจัดทำโล่ห์เชิดชูเกียรติ
    9. แนวทางในการพัฒนาโครงการในปีต่อไป (หากจะมีการดำเนินโครงการต่อเนื่อง) พัฒนาโครงการ ในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น การใช้ประโยชน์จากขยะรีไซเคิล  การทำน้ำหมักจากขยะอินทรีย์ หรือการจัดทำกิจกรรมทอดผ้าป่าขยะ เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นการเรียนรู้ชุมชน ให้เป็นชุมชนที่เข็มแข็ง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสม

     

    2 ๒. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ80มีการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน

     

    3 ๓. เพื่อประกาศเกียรติคุณหมู่บ้าน/ ชุมชน ที่ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อโดยการรักษาความสะอาดของหมู่บ้านเชิดชูเกียรติให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบเป็นตัวอย่างที่ดีในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและส่งเสริมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 หมู่บ้านต้นแบบเป็นตัวอย่างที่ดีในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและส่งเสริมสุขภาพ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้มีความตระหนักและร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ (2) ๒. เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในชุมชน (3) ๓. เพื่อประกาศเกียรติคุณหมู่บ้าน/ ชุมชน ที่ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อโดยการรักษาความสะอาดของหมู่บ้านเชิดชูเกียรติให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบเป็นตัวอย่างที่ดีในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและส่งเสริมสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการบ้านเรือนสะอาด หมู่บ้านสวยงาม ปลอดภัย ปลอดโรค ประจำปี 2560 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4117-1-18

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางกัญญาภัค ยอดเมฆ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด