กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และฟื้นฟู ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น ประจำปี 2560 ”

ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกีรติ ๘๐ พรรษา

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และฟื้นฟู ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 สิงหาคม 2560 ถึง 1 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และฟื้นฟู ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น ประจำปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และฟื้นฟู ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และฟื้นฟู ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 สิงหาคม 2560 - 1 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลรักษาผู้ป่วยบาดเจ็บและเจ็บป่วยฉุกเฉินก่อนการนำส่งไปยังสถานพยาบาลเป็นระยะหนึ่งที่สำคัญ เพราะช่วงก่อนนำส่งโรงพยาบาลเป็น "Golden Hour"ของการรักษาผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุต่างๆ ที่จะทำให้ผู้ป่วยรอดชีวิตได้มากที่สุด มากกว่าการได้รับการรักษาที่โรงพยาบาล ซึ่งระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ได้แก่ การพัฒนาระบบรับแจ้งเหตุและสั่งการที่มีประสิทธิภาพ การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประชาชน การใช้หมายเลข ๑๖๖๙ ทั้งนี้ประชาชนในอำเภอยี่งอมีการใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินยังน้อยอยู่เนื่องจากการประชาสัมพันธ์ยังไม่ครอบคลุมและขาดความต่อเนื่อง การพัฒนาชุดปฏิบัติการได้มาตรฐานครอบคลุมทุกพื้นที่ ซึ่งจะต้องผ่านการอบรมชุดปฏิบัติการ และมีความรู้ความสามารถ ในเรื่องระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้น ประเมินสภาพผู้ป่วยฉุกเฉินและสถานการณ์ และการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ อีกทั้งในปัจจุบันสภาพเหตุการณ์ไม่สงบในพื้นที่ยังมีต่อเนื่อง ตลอดจนโรภคัยไข้เจ็บที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ที่มิอาจคาดเดาได้ เช่นโรคหัวใจและหลอดเลือด เส้นเลือดในสมองแตก เป็นต้น ในปีที่ผ่านมาการให้บริการของเครือข่ายให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประชาชน การใช้หมายเลข ๑๖๖๙ ของประชาชนในอำเภอยี่งอมีเพียง ปี ๒๕๕๘ ร้อยละ ๔๗.๐๑ ปี ๒๕๕๙ ร้อยละ ๔๘.๓๗ และมีเครือข่ายให้บริการเพิ่มขึ้นเป็นจำนวน ๖ อปท.ทำให้ยอดการให้บริการมีแนวโน้มสูงขึ้น พบว่า ปี ๒๕๕๗ มีจำนวน ๒๕๗ ราย ปี ๒๕๕๘ จำนวน ๒๕๗ ราย ปี ๒๕๕๙ จำนวน ๓๖๙ ราย แต่ทั้งนี้อาสากู้ชีพ มีจำนวนไม่เพียงพอในการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินและผู้ปฏิบัติการการบริการการแพทย์ฉุกเฉินต้องได้รับการฟื้นฟู ความรู้ทักษะในการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อการปฏิบัติช่ายเหลือ ณ จุดที่เกิดที่ถูกต้อง ปลอดภัย ดังนั้นงานอุบัติเหตุ - ฉุกเฉินโรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ครอบคลุมทั้ง การประชาสัมพันธ์ การอบรมให้ความรู้แก่ผู้ให้บริการและประชาชน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อลดอัตราการสูญเสียชีวิต ความพิการและสูญเสียทรัพย์สิน ที่อาจเกิดขึ้นต่อไป แ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อาสากู้ชีพฉุกเฉิน ได้รับความรู้และทักษะในการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน
  2. เพื่อพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในอำเภอยี่งอ
  3. เพื่อการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประชาชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้เข้าร่วมการอบรมสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติและช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 2.ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินตามมาตรฐาน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่อาสากู้ชีพและอสม.ในเขตตำบลยี่งอ

    วันที่ 28 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสากู้ชีพและอสม.สามารถนำความรู้ ทักษะ ในการอบรมครั้งนี้ ไปใช้ในการปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

     

    30 30

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    อาสากู้ชีพและอสม.สามารถนำความรู้จากการฝึกปฏิบัติการฐานต่างๆ ที่ รพ.จัดอบรมมาใช้ในการช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้อาสากู้ชีพฉุกเฉิน ได้รับความรู้และทักษะในการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในอำเภอยี่งอ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประชาชน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสากู้ชีพฉุกเฉิน ได้รับความรู้และทักษะในการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน (2) เพื่อพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในอำเภอยี่งอ (3) เพื่อการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประชาชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และฟื้นฟู ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น ประจำปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกีรติ ๘๐ พรรษา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด